โดย : สำนักพัฒนามาตรฐานและทดสอบฝีมือแรงงาน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ตัวชี้วัดที่ 9.2 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักตามเป้าหมายผลผลิตของจังหวัด (ตามเอกสารงบประมาณรายจ่าย) น้ำหนัก : ร้อยละ 2 หน่วยวัด : ระดับ คำอธิบาย.
Advertisements

GES : มิติภายในด้านการพัฒนาองค์การ
ชื่อตัวชี้วัด : คำอธิบาย :
 6. การจัดการข้อร้องเรียน ชื่อตัวชี้วัด : คำอธิบาย :
การติดตามและประเมินผล ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
รายละเอียดตัวชี้วัดที่ 10 (จังหวัด)
แผนปฏิบัติการ ปีงบประมาณ พ.ศ นำไปสู่การปฏิบัติ
การติดตามและรายงานผลการ ปฏิบัติงาน ส่งเสริมการเกษตร ๒๕๕๔ ดาวน์โหลดเอกสารประกอบ.
แนวทางการรายงาน ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
การดำเนินการ ขั้น 1 : ◊ แต่งตั้งคณะทำงาน ◊ จัดทำแผนดำเนินการ (Roadmap) ◊ จัดประชุมชี้แจง คณะทำงานดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ควรประกอบด้วย.
เตรียมความพร้อมการรายงานผลการปฏิบัติการประจำปี 2552 รอบ 12 เดือน.
ตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงาน คป.สอ.สตูล
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2
คำอธิบาย ระดับความสำเร็จของการพัฒนาสมรรถนะของบุคลากร
ตัวชี้วัดที่ 9 : ร้อยละความสำเร็จ ในการให้ความร่วมมือดำเนินงานตามคู่มือปฏิบัติงานกระบวนการ ที่สร้างคุณค่า และกระบวนการสนับสนุนของกรมอนามัย.
ตัวชี้วัดที่ 2 ร้อยละความสำเร็จ ของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ
คำอธิบาย ความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการ
การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตาม ตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ วันที่ 29 มกราคม 2551.
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
การจ้างพนักงานราชการ
การติดตามประเมินผลการ ปฏิบัติราชการ (Site Visit II) รอบ 12 เดือน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2551 ณ ห้องประชุมลำพอง 2 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.
การติดตามประเมินผลการ ปฏิบัติราชการ (Site Visit II) รอบ 12 เดือน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ วันที่ 23 ธันวาคม 2551 ณ ห้องประชุมศาลาชื่นอารมณ์
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
สรุปแผน/ผลการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
การประชุมชี้แจง (ร่าง)กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ วันพฤหัสบดีที่ 10 เมษายน 2557 เวลา น. ณ ห้องประชุม.
แนวทางการดำเนินงานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ฉบับบูรณาการ กรมอนามัย และ กรมควบคุมโรค (HPH PLUS) ปีงบประมาณ 2552 ภายใต้ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ.
คู่มือการใช้งานระบบ DOC รายงานผลการปฏิบัติราชการ
แนวทางการดำเนินงานโครงการสำคัญ ปีงบประมาณพ.ศ.2554 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ผศ.ดร.กัลยาณี คูณมี ทีมที่ปรึกษาสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
การประชุมคณะกรรมการ และคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2554
2 ผลการดำเนินงาน รอบ 9 เดือน ตัวชี้วัด / ข้อมูลพื้นฐาน ประกอบ ตัวชี้วัด น้ำหนั ก ( ร้อย ละ ) ผลการ ดำเนินงา น ค่า คะแนน ที่ได้ ค่า คะแนน ถ่วง น้ำหนัก.
Sharing Items Module 1 : การจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์
ตัวชี้วัดที่ ๖ ตัวชี้วัดที่ ๖ ร้อยละความสำเร็จของการ เบิกจ่ายเงินงบประมาณ น้ำหนัก ร้อยละ ๕ มิติภายใน.
ตัวชี้วัดที่ 3.8 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการดำเนินการในผลผลิตที่ 3 แรงงานที่ถูกเลิกจ้าง/ว่างงาน แรงงานใหม่ ผู้สูงอายุ ผู้พิการและแรงงานนอกระบบที่มีทักษะฝีมือในการประกอบอาชีพ.
ตัวชี้วัดที่ 3 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมาย ตามแผนปฏิบัติราชการของหน่วยงาน.
นางณัฐชนัญ ศุภพิพัฒน์
ตัวชี้วัดที่ 2 ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานพัฒนาฝีมือแรงงานในภาพรวมของภาค (ผลการดำเนินงานของสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานภาคและศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงานที่อยู่ในเครือข่าย)
พิธีลงนามคำรับรองการปฏิบัติราชการหน่วยงานภายใน
ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ หน่วยงานภายในกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
การวิเคราะห์ Competency
3.3 ร้อยละผลการปฏิบัติงานตาม แผนกลยุทธ์การสร้างราชการใส สะอาดของกรุงเทพมหานคร 4.3 การดำเนินการของเรื่อง ร้องเรียนเกี่ยวกับการทุจริตของ หน่วยงาน 4.4 ร้อยละของความสำเร็จของ.
ผู้รับผิดชอบ : สำนักงาน ก.ก.
1 3.3 ร้อยละของผลการ ปฏิบัติงานตามแผน กลยุทธ์การสร้างราชการใส สะอาด ฯ ความสำเร็จ ในการเสริมสร้าง 4.3 ร้อยละของความสำเร็จ ในการเสริมสร้าง คุณธรรมและ จริยธรรมแก่บุคลากร.
ตัวชี้วัด :3.2 ระดับความสำเร็จในการแก้ไขเรื่อง ร้องเรียนจากประชาชน / ผู้รับบริการ โดย กองกลาง สำนักปลัด กรุงเทพมหานคร น้ำหนัก คะแนน : โดยนำผลคะแนนรวมในขั้นตอนที่
ร้อยละความสำเร็จของการนำองค์ความรู้ที่มีอยู่ในองค์การไปสู่การปฏิบัติ
ประเด็นการประเมิน : คุณภาพการให้บริการ ตัวชี้วัด : 3
13 สิ่งที่หน่วยงานต้อง ดำเนินการ  ศึกษารายละเอียดเกี่ยวกับกรอบ การประเมินผลชี้แจงทำความเข้าใจ และมอบหมายงานให้ผู้ที่เกี่ยวข้อง รับผิดชอบดำเนินการ  
วัตถุประสงค์ของการประชุมครั้งนี้
- ร่าง - แบบรายงานผลการดำเนินงานของจังหวัดตามนโยบายรัฐบาล นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี
4.6 การคำนวณต้นทุนของส่วนราชการ วัตถุประสงค์ ส่วนราชการสามารถคำนวณต้นทุนได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม เป็นมาตรฐานเดียวกัน เปรียบเทียบต้นทุนกันได้ในระหว่างหน่วยงาน.
ข้อเสนอตัวชี้วัดของกรมทรัพยากรน้ำ ปี ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของความสำเร็จในการ ให้บริการสารสนเทศทรัพยากรน้ำ ผ่านระบบเครือข่าย เกณฑ์การให้คะแนน ระดับ.
กรอบการประเมินผลของส่วนราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2555
กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการของกรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557
โดย กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
การอนุรักษ์พลังงาน ในระบบปรับอากาศ.
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการดำเนินการ มาตรการประหยัดพลังงาน
คำรับรองการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ
ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ
ยุทธศาสตร์ที่ 6 การพัฒนาคุณภาพระบบบริหารจัดการองค์กรและบุคลากร ให้มีขีดสมรรถนะสูงได้มาตรฐานสากล การดำเนินการพัฒนาคุณภาพระบบบริหารจัดการองค์กร เป็นการนำเกณฑ์
การพัฒนา องค์การ ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ เพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน ตามคำรับรอง การปฏิบัติ ราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ตัวชี้วัดคุณภาพการให้บริการประชาชน
แนวทางการดำเนินการ พัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ประจำปี 2553.
ประกาศคณะกรรมการส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน เรื่อง วิธีการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน และการออกหนังสือรับรองว่าเป็นผู้ผ่านการทดสอบ มาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ
ระดับกระทรวง / กรม เป้าหมายการให้บริการระดับกระทรวง (PSAM) เป้าหมายการให้บริการระดับกรม (PSA) ระดับหน่วยงาน ตัวชี้วัดผลผลิตตามเอกสาร สงป. (SDA) ตัวชี้วัดคำรับรองกรมฯ.
มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ที่ตัวชี้วัด น้ำหนัก (ร้อย ละ) หน่วย นับ เป้าหมาย ปี 2557 ข้อมูลพื้นฐานปีงบประมาณ พ.ศ. เกณฑ์การให้คะแนน ร้อยละของจำนวนครั้งที่รับผิดชอบในการ.
ประจำปีงบประมาณ พ. ศ.2551 ( เฉพาะในส่วนที่ เกี่ยวข้อง ) ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ สำนักงานสหกรณ์จังหวัด ราชบุรี ผลงานถึงเดือนพฤษภาคม.
รายงานการประเมินตนเอง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โดย : สำนักพัฒนามาตรฐานและทดสอบฝีมือแรงงาน กรอบและแนวทางการประเมินผล ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการหน่วยงานภายใน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 โดย : สำนักพัฒนามาตรฐานและทดสอบฝีมือแรงงาน

ตัวชี้วัดที่ 3.3 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการดำเนินการในผลผลิตกำลังแรงงานในตลาดแรงงาน ได้รับการพัฒนาทักษะฝีมือและศักยภาพได้มาตรฐาน กิจกรรม ทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน

น้ำหนัก ร้อยละ 5 (สำหรับสถาบันฯ) ร้อยละ 6 (สำหรับศูนย์ฯ) น้ำหนัก ร้อยละ 5 (สำหรับสถาบันฯ) ร้อยละ 6 (สำหรับศูนย์ฯ) คำอธิบาย พิจารณาจากความสำเร็จของการดำเนินการโดยใช้ข้อมูลผลการดำเนินงานจากฐานข้อมูลในศูนย์ข้อมูลสารสนเทศของกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน (http://datacenter.dsd.go.th)

วิธีการประเมินผล หน่วยงานไม่ต้องจัดส่งรายงานการประเมินผลตนเอง (Self Assessment Report : SAR) ให้กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน เนื่องจากการประเมินคะแนนตัวชี้วัดนี้จะใช้ข้อมูลผลการดำเนินงานจากศูนย์ข้อมูลสารสนเทศ (http://datacenter.dsd.go.th) โดยแบ่งออกเป็น 2 ตัวชี้วัดย่อย คือ ตัวชี้วัดที่ 3.3.1 และ 3.3.2 รายละเอียดตัวชี้วัดย่อย ดังนี้

น้ำหนัก ร้อยละ 2 (สำหรับสถาบันฯ) ร้อยละ 3 (สำหรับศูนย์ฯ) ตัวชี้วัดที่ 3.3.1 จำนวนของแรงงานที่เข้าทดสอบในกิจกรรมทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน เทียบกับเป้าหมายการดำเนินงานที่ได้รับตามงบประมาณ พ.ศ. 2556 น้ำหนัก ร้อยละ 2 (สำหรับสถาบันฯ) ร้อยละ 3 (สำหรับศูนย์ฯ)

คำอธิบาย เกณฑ์การให้คะแนน พิจารณาจากจำนวนแรงงานที่เข้าทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน ในกิจกรรมทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน ระหว่าง 1 ต.ค. 2555-30 ก.ย. 2556 เทียบกับ เป้าหมายการดำเนินงานที่ได้รับตามงบประมาณ พ.ศ.2556 เกณฑ์การให้คะแนน จำนวนเป้าหมายที่ได้รับจัดสรรคิดเป็นค่าคะแนนกลาง เท่ากับ 3 คะแนน และมีเกณฑ์การให้คะแนนตามตารางแนบท้าย

น้ำหนัก ร้อยละ 3 (สำหรับสถาบันฯ) ร้อยละ 3 (สำหรับศูนย์ฯ) ตัวชี้วัดที่ 3.3.2 ร้อยละของแรงงานที่ผ่านการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานใน 22 สาขาอาชีพ โครงการพัฒนาศักยภาพแรงงานเพื่อรองรับการจ่ายค่าจ้างตามมาตรฐานฝีมือแรงงาน น้ำหนัก ร้อยละ 3 (สำหรับสถาบันฯ) ร้อยละ 3 (สำหรับศูนย์ฯ)

คำอธิบาย พิจารณาจากร้อยละของแรงงานที่ผ่านการทดสอบในกิจกรรมทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน ในงบประมาณ 2556 ระหว่าง 1 ต.ค. 2555 – 30 ก.ย. 2556 ตามโครงการพัฒนาศักยภาพแรงงานเพื่อรองรับการจ่ายค่าจ้างตามมาตรฐานฝีมือแรงงาน

สูตรการคำนวณ

เกณฑ์การให้คะแนน กำหนดให้เป้าหมายการดำเนินงานที่ได้รับประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2556 เท่ากับ 82% และคิดเป็น 3 คะแนน ปรับช่วงการให้คะแนน +/- ร้อยละ 2 ดังนี้ ระดับ คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 คะแนน ร้อยละ 79 80 82 84 86

ขอบคุณครับ