Benchmarking.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พิชิตโครงงานวิทยาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
Advertisements

(Benchmarking) By : นายพงษ์นรินทร์ ปิดจัตุรัส.
กรอบแนวทางการทำงาน Dummy Project
ประเภท โครงการต่อยอด/ขยายผลโครงการเดิม(A)
การฝึกอบรมหลักสูตร การบริหารจัดการโครงการ และการติดตามประเมินผล
บทที่ 4 การวางแผนกลยุทธ์ธุรกิจออนไลน์
Best Practice.
ณ ห้องฟ้าตรัง 1 โรงแรม เอ็ม.พี. รีสอร์ท อ.เมือง จ.ตรัง
บทที่ 4 การแปรรูป และการผลิตสินค้าอาหาร
ระบบการบริหารการตลาด
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชี้ สกอ. และ สมศ.
โครงร่างองค์กร (Organizational Profile)
การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ และสาเหตุที่ทำให้ผลิตภัณฑ์ใหม่ล้มเหลว
คำถามของการบริหารการค้าปลีก
BA 925 การบริหารกลยุทธ์ ภาคฤดูร้อน ปีการศึกษา 2551
การถ่ายทอดตัวชี้วัดลงสู่ระดับสำนัก/กอง และระดับบุคคล
การติดตามประเมินผล ความหมาย การวัดผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ของพนักงานช่วงเวลาใดเวลาหนึ่งโดยเปรียบเทียบผลการปฏิบัติงานกับมาตรฐานที่กำหนดไว้ วัตถุประสงค์
หลักสูตรการจัดการทั่วไป
Chapter 2 การศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
การบริหารโครงการ และงบประมาณ การบริหารโครงการ และ งบประมาณ
เครื่องมือคุณภาพ เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา 1.
วัตถุประสงค์ของการศึกษาด้วยกรณีศึกษา
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
แนวคิด หลักการ ของการประเมินเพื่อการพัฒนา
หมวด2 9 คำถาม.
สิ่งที่จะเรียนรู้ในวันนี้
หัวข้อ 3.1 ความรู้เกี่ยวกับลูกค้าและตลาด
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด4 10คำถาม.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด2 9คำถาม.
การนำเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินงานที่เป็นเลิศไปพัฒนาองค์กร
โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA : Public Sector Management Quality Award) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
Self Assessment Self Assessment คือการประเมินตนเอง คือวิธีการที่จะทำให้องค์กรได้ทราบถึงสมรรถนะ จุดอ่อน จุดแข็งของตนเอง สามารถนำไปใช้ในการวางแผน ปรับปรุงองค์กรให้มีประสิทธิภาพ.
สท. กับการเรียนรู้ ภายในองค์กร โดย มยุรี ผ่อง ผุดพันธ์
สท. กับการเรียนรู้ ภายในองค์กร โดย มยุรี ผ่อง ผุดพันธ์
รวบรวม /ปรับปรุง/เสริมแต่ง
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนลักษณะสำคัญขององค์กร :
การเขียนรายงานผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
ขั้นตอนการบริหารกิจกรรม 5ส
5ส เพื่อการเพิ่มผลผลิต
ขอต้อนรับทุก ท่าน WELCOME ! No 1. การบรรยายความรู้ มุมมองใหม่ กับการทำงานส่งเสริมเคหกิจ เกษตร วันพุธที่ ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๕๔ ระหว่างเวลา ๑๕. ๐๐ – ๑๖. ๐๐ น.
Good Practice (for Quality Improvement)
Good Practice (for Quality Improvement)
องค์ประกอบของการสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกัน
การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาสมรรถนะด้านเทคนิค (Competency Development for Best Practices) กรมควบคุมโรค ดร.เกริกเกียรติ ศรีเสริมโภค บริษัท โกลบัล.
โครงการศึกษาวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practices) ด้วย การเทียบเคียงสมรรถนะ (Benchmarking) ของ สถานศึกษา สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ.
การบริหารและกระบวนการวางแผน
การออกแบบตัวชี้วัดที่ประสบความสำเร็จในการทำ E-Learning โดย เบคิม เฟทาจิ , เมย์ลินดา เฟทาจิ มหาวิทยาลัยยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีร่วมสมัย.
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
แนวทางดำเนินงานจัดการความรู้ในงานส่งเสริมการเกษตร ให้ประสบผลสำเร็จ
29 March 05Why Baldrige เสนอคุณค่าเพิ่ม เพื่อเริ่มทำ เกณฑ์บัลดริจการศึกษา : เสนอคุณค่าเพิ่ม เพื่อเริ่มทำ.
คู่มือการพัฒนาคุณภาพ HA SPA SAR 2011 HA Scoring Guideline 2011
บทที่ 6 การเปลี่ยนแปลงเข้าสู่การออกแบบระบบ การประเมินทางเลือกซอฟท์แวร์
Evaluation as a Strategy ; สำนักประเมินผล สำนักงบประมาณ
การประเมินค่างาน ดร. สุจิตรา ธนานันท์.
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
สิ่งดีๆจากการทำงานแผน
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
Educational Standards and Quality Assurance ผศ.ดร.ชัยยุทธ ศิริสุทธิ์
กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย
การพัฒนาการเรียนรู้รายวิชาการโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วย e-Learning
วัฒนธรรมกรมอนามัย.
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
Business Intelligence (BI) ธุรกิจอัจฉริยะ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Benchmarking

เกิดปัญหาถูกสินค้าของ ญี่ปุ่น ตีตลาด ราคาขาย ญี่ปุ่น = ต้นทุน XEROX Benchmarking XEROX เกิดปัญหาถูกสินค้าของ ญี่ปุ่น ตีตลาด ราคาขาย ญี่ปุ่น = ต้นทุน XEROX

Benchmarking และการปรับปรุงอย่างก้าวกระโดด ผลการดำเนินงาน เวลา การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง การปรับปรุงอย่างก้าวกระโดด Benchmarking กระตุ้นการเปลี่ยนแปลง และ Innovation

เราจะทำให้ดีกว่าเขาได้อย่างไร ? Benchmarking กับ 4 คำถาม เราอยู่ตรงไหน ? Where are we ? Benchmarking ตัวชี้วัด KPIs (Benchmark) ใครเก่งที่สุด ? Who is the best ? แนวปฏิบัติที่ดี (Best Practices) เขาทำอย่างไร ? How do they do it ? การนำมาประยุกต์ใช้ (Enabler) เราจะทำให้ดีกว่าเขาได้อย่างไร ? How can we do it better ?

ความหมาย Benchmarking Benchmark Best Practices Enabler

1 Benchmarking กระบวนการเสาะหาวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practices) และนำมาประยุกต์ใช้ เพื่อให้เราแข่งขันกับคนอื่นได้ตลอดเวลา

2 Benchmark จุดเปรียบเทียบ เกณฑ์เปรียบเทียบสมรรถนะ ผลการดำเนินงานของผู้ที่ทำได้ดีที่สุด

3 Better Practices Best Practice วิธีปฏิบัติที่ทำให้องค์กรประสบความสำเร็จ หรือ วิธีปฏิบัติที่เหนือชั้น หรือ วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ Better Practices

4 Enabler วิธีการ ความชำนาญ ระบบเทคนิค หรือปัจจัยต่างๆ ที่เอื้อให้องค์กร สามารถทำวิธีปฏิบัติที่ดีได้

คำถาม:ในการทำ Benchmarking เราให้ความสำคัญกับ..มากกว่ากัน? 80 % 20 % การปฏิบัติ ตัววัด ก. ข.

แนวคิดของ Benchmarking ไม่ใช่ การเปรียบเทียบ กับคู่แข่งเท่านั้น ไม่ใช่ เป็นการไปเยี่ยม โรงงานเท่านั้น ไม่ใช่ การลอก เลียนแบบ ไม่ใช่ การล้วง ความลับ

รูปแบบของ Benchmarking 1 แบ่งตามสิ่งที่เราเอาไป Benchmarking แบบที่ 1 การทำในเรื่อง กลยุทธ์ แบบที่ 3 การทำในเรื่อง กระบวนการ แบบที่ 2 การทำในเรื่อง ผลการดำเนินงาน แบบที่ 4 การทำในเรื่อง สินค้าและบริการ

รูปแบบของ Benchmarking 2 แบ่งตามประเภทของผู้ที่เราไป Benchmarking แบบที่ 1 การทำกับ องค์กรเดียวกัน แบบที่ 3 การทำกับ ในอุตสาหกรรมเดียวกัน แบบที่ 2 การทำกับ คู่แข่งขัน แบบที่ 4 การทำกับ ต่างอุตสาหกรรม

รูปแบบของ Benchmarking 3 แบ่งตามจำนวนผู้ที่ไป Benchmarking แบบที่ 1 การทำแบบเดี่ยว ระหว่างเรากับอีกหนึ่งองค์กร แบบที่ 2 การทำแบบกลุ่ม ทำกันเองหรือมีตัวกลาง

จรรยาบรรณ (Code of Conduct) 1. หลักการด้านกฎหมาย ปฏิบัติตนในกรอบของกฎหมาย 2. หลักการด้านการแลกเปลี่ยนข้อมูล ร่วมมือในการแลกเปลี่ยนข้อมูลที่เป็นจริง 3. หลักการด้านความลับ รักษาความลับของข้อมูลที่ได้รับ 4. หลักการด้านการใช้ข้อมูล ใช้ข้อมูลตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

จรรยาบรรณ (Code of Conduct) 5. หลักการด้านการติดต่อ ติดต่อกับองค์กรคู่เปรียบเทียบผ่านบุคคลที่กำหนด ไม่เปิดเผยชื่อของผู้ที่เราติดต่อโดยไม่ได้รับอนุญาต 6. หลักการด้านการเตรียมตัว เตรียมตัวให้พร้อมในการแลกเปลี่ยนข้อมูล 7. หลักการด้านการทำให้สำเร็จ ปฏิบัติตามข้อตกลงที่ทำกับคู่เปรียบเทียบให้เสร็จ 8. หลักการด้านความเข้าใจและการปฏิบัติ เอาใจเขามาใส่ใจเรา

ขั้นตอนการทำ Benchmarking การวางแผน การเตรียม ความพร้อม การวิเคราะห์ การบูรณาการ การนำไปปฏิบัติ

ขั้นตอนการทำ Benchmarking ความมุ่งมั่นของผู้บริหาร การสนับสนุนทรัพยากร การกำหนดผู้รับผิดชอบ การฝึกอบรม Benchmarking การเลือกวิธีการทำ การปฏิบัติตามจรรยาบรรณ (Code of Conduct) การเตรียม ความพร้อม Step 0

ขั้นตอนการทำ Benchmarking การวางแผน กำหนดเรื่องที่จะทำ BM กำหนดองค์กรที่จะทำด้วย กำหนดวิธีการเก็บข้อมูล (Survey,Site visit) การเก็บข้อมูล Step1

ขั้นตอนการทำ Benchmarking การวิเคราะห์ เปรียบเทียบและวิเคราะห์ ความต่างของผลงานในปัจจุบัน ประมาณการความต่าง ของผลงานในอนาคต ศึกษาวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ วิเคราะห์หา ของความสำเร็จ Step2 เคล็ดลับ

ขั้นตอนการทำ Benchmarking การบูรณาการ การสื่อสารผลการวิเคราะห์ ให้ผู้ที่เกี่ยวข้อง การตั้งเป้าหมายเพื่อปรับปรุง กำหนดวิธีการที่เหมาะสม Step3

ขั้นตอนการทำ Benchmarking การนำไปปฏิบัติ การทำแผนปฏิบัติการ การนำแผนไปปฏิบัติ การติดตามผล การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง Step4

1 2 4 3 Balance Model Measures Practices เรา เขา เราอยู่ตรงไหน Self Assessment Benchmarking เราอยู่ตรงไหน ใครเก่งที่สุด รวบรวม ข้อมูล วิเคราะห์ 4 3 Improvement จะทำให้ดีกว่า เขาได้อย่างไร เขาทำได้ อย่างไร Learning Practices

Balance Model Self Assessment ปรโตโฆษะ โยนิโสมนสิการ ศรัทธานำ ปัญญา Benchmarking Outside-In Inside-Out ปรโตโฆษะ โยนิโสมนสิการ ศรัทธานำ ปัญญา