ดูแล ด้วยใจ ห่วงใยด้วย pap โดย ลาเดือน แก้วจินดา 04/04/60.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หน่วยงานจักษุกรรม รพ.ค่ายวชิราวุธ.
Advertisements

ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
นำเสนอโดย นางสงวนศรี พลดอน พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลปัตตานี
บริษัท Phuket Solution Lo.,Ltd
กระบวนการลงทะเบียนควบคุมครุภัณฑ์
กระทำหน้าที่ตามเป้าหมายขององค์กรอย่างสมบูรณ์
หนี้สงสัยจะสูญและหนี้สูญ
ตัวชี้วัด P4P ตัวชี้วัดที่2 : ร้อยละของผู้ที่อยู่ในภาวะพึ่งพิง(ติดเตียง)ได้รับการดูแล สุขภาพที่บ้าน(HHC) โดยบุคลากรสาธารณสุข เป้าหมาย ร้อยละ 80.
พยากรณ์โรคมือเท้าและปากในพื้นที่เขต18 (Hand Foot and Mouth Disease)
การดูแลผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ ด้วยโปรแกรม HIVQUAL-T
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
โรงพยาบาลท่าม่วง อำเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี
โรงพยาบาลทับสะแก อำเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
คณะทำงานการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อผู้ป่วยเอดส์ด้วยยาต้านไวรัส
คุณภาพมาตรฐาน บริการด้วยนำใจ สิ่งแวดล้อมสดใส ห่วงใยปวงประชา
สรุปผลการดำเนินงาน โครงการพัฒนารูปแบบการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อและ ผู้ป่วยเอดส์อย่างครอบคลุมในพื้นที่ 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน (TUC Care Project) ปี
Group Learning HIVQUAL-T Forum
โครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลรักษา ผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์
Best Practice โรงพยาบาลสมเด็จพระญาณสังวร จังหวัดเชียงราย
โรงพยาบาล หน่วยบริการ.
สถานการณ์เอดส์ เด็ก 28 ราย ผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์สะสม ทั้งจังหวัด
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและ โอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนา คุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต เขต 8 นครสวรรค์ นครสวรรค์ กำแพงเพชร อุทัยธานี
การคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในหญิงติดเชื้อ : ประสบการณ์โรงพยาบาลแม่ลาว Mae Lao hospital, Chiang Rai province, Thailand สุทธินีพรหมใจษา วราลักษ์ รัตนธรรม สุภาพรตันสุวรรณ.
การบูรณาการงาน HIV CARE สู่งานพัฒนาคุณภาพ
โรงพยาบาลชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิ
โรงพยาบาลทับสะแก อ.ทับสะแก จ.ประจวบคีรีขันธ์ ขนาด 60 เตียง
การติดตามการตรวจ CD4 ใน Asymtomatic patient (CD4 award)
การส่งเสริมวินัยการกินยาต้านไวรัสเอดส์
การพัฒนาคุณภาพบริการ การดูแลผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์
ภาพรวม/บทเรียนการดำเนินงานพัฒนาคุณภาพฯ HIVQUAL-T ของ รพ.ครู ก.
ผลของการจัดกิจกรรมกลุ่มต่อความสุขและคุณภาพชีวิตของกลุ่มผู้ติดเชื้อ เอช ไอ วี วันเพ็ญ พูลเพิ่ม พยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลโพนทอง.
1. ชื่อผลงาน: ส่งเสริมการเข้าถึงบริการอย่างเป็นมิตร
การพัฒนาคุณภาพด้านการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ ( CQI Story)
การพัฒนางานคุณภาพงานเอดส์
โครงการเพื่อนช่วยเพื่อน กลุ่มดอกไม้งาม อ.มวกเหล็ก จ.สระบุรี
การพัฒนาระบบการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
การดูแล ผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ผลการพัฒนาการบันทึกข้อมูล HIV-QualT ในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา. โดย นส
ระบบบริการดี ตรวจซีดีโฟร์ ครบตามมาตรฐาน
ผลการเฝ้าระวัง และป้องกันความล้มเหลวในการรักษาในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา โดย นส.จาฤดี กองผล, นางละมัย ช่วยแดง พยาบาลประจำคลินิกยาต้านไวรัสโรงพยาบาลระโนด.
บริบาลเภสัชกรรม รวดเร็วปลอดภัย คลินิกเด็กหัวใจสีเหลือง.
ระบบHomeward& Rehabilation center
โรคหลอดเลือดสมองเสื่อม
03/10/571 โครงการทบทวนแผนยุทธศาสตร์ของสนย.. 03/10/572 โครงการทบทวนแผนยุทธศาสตร์ของสนย.
สรุปการประชุม เขต 10.
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
เป้าหมาย สตรีอายุ ปี 240,279 ผลงาน 65,541 (27.28 %) ผิดปกติ/ ส่งต่อ
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
สรุปบทเรียนโครงการแก้ไขปัญหาทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
การพัฒนากิจกรรมเพื่อการป้องกันการเกิดเชื้อเอชไอวีดื้อยา
โรงพยาบาลสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์
บทเรียนจากการเก็บข้อมูลภาคสนามเพื่อการติดตามตาม HIVDR-EWI
กำลังคน กระทรวงสาธารณสุข
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
สรุปการประชุมกลุ่มย่อยที่ 1
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 เดือน กรกฎาคม 2556 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
นำเสนอแผนปฏิบัติการสาธารณสุข
การจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ และป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี
สาขาโรคมะเร็ง.
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 เดือน มีนาคม 2556 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
ได้รับจัดสรรวงเงิน 3,218,091. เกณฑ์การจัดสรรสัดส่วน (%) วงเงิน ( 3,218,091 ) 1. ประชากร30 965, ผลงาน70 2,252,664 แนวทางการจัดสรร งบ P4P จ.กระบี่
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2555 เดือนมกราคม
งานผู้ป่วยใน โรงพยาบาลบ้านเขว้า
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2555 เดือนพฤศจิกายน.
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 เดือน พฤศจิกายน 2555 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ดูแล ด้วยใจ ห่วงใยด้วย pap โดย ลาเดือน แก้วจินดา 04/04/60

บริบท โรงพยาบาลดอกคำใต้ โรงพยาบาลดอกคำใต้ เป็นโรงพยาบาล 30 เตียง ตั้งอยู่ในเขตตำบลดอนศรีชุมรับผิดชอบ 12 หมู่บ้าน ผู้ป่วยนอกเฉลี่ย 494 คน/วัน อัตราครองเตียง 139 % 04/04/60

ข้อมูลผู้ติดเชื้อเอชไอวี/ผู้ป่วยเอดส์ที่ขึ้นทะเบียนสะสม ประเภทผู้ขึ้นทะเบียน จำนวน (ราย) ปี 2553 ปี 2554 ปี 2555 1. ผู้ติดเชื้อไม่มีอาการ 289 295 291 2. ผู้ติดเชื้อมีอาการ 285 275 281 3. ผู้ป่วยเอดส์ 243 240 242 รวม 817 810 814 ได้รับการรักษาด้วยยาต้านไวรัส 545 600 617 04/04/60

กราฟแสดงข้อมูลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์สะสม ปีงบประมาณ 2553-2555 กราฟแสดงข้อมูลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์สะสม ปีงบประมาณ 2553-2555 04/04/60

04/04/60

ปัญหาและสาเหตุ จากการวิเคราะห์ข้อมูลและมีการวัดการพัฒนาคุณภาพบริการโดยใช้โปรแกรม HIVQUAL-T พบว่า การดูแลเรื่อง PAP Smearในหญิงติดเชื้อเอชไอวี ต่ำกว่าเกณฑ์ ตรวจเพียง 38 % เป็นมะเร็งปากมดลูก 2.88 % เสียชีวิตจากการรักษาล่าช้า 33.33 % ประเมินความรู้ 56.42 % 04/04/60

สรุปผลงานโดยย่อ การสร้างแรงจูงใจ ให้หญิงติดเชื้อเอชไอวี ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกต้องใช้กิจกรรมที่น่าสนใจโดยใช้กลยุทธ์ “ ดูแลด้วยใจ ห่วงใยด้วย PAP ” จะช่วยให้เกิดความตระหนักในการเข้ารับบริการได้มากขึ้น ส่งผลให้ผู้ที่มีผลตรวจผิดปกติได้รับการรักษาทันเวลา 04/04/60

เป้าหมาย เพื่อเพิ่มความครอบคลุมในการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกของหญิงติดเชื้อเอชไอวี > 80 % เพิ่มความรู้ความเข้าใจเรื่องมะเร็งปากมดลูก > 80 % ผู้ที่ผลตรวจผิดปกติ ได้รับการตรวจรักษา 100 % 04/04/60

กิจกรรมการพัฒนา ประชุมเตรียมทีมในการดำเนินงานโดยใช้กิจกรรม “ ดูแลด้วยใจห่วงใยด้วย PAP” จัดกิจกรรมให้ความรู้เรื่องโรคมะเร็งปากมดลูกในหญิงติดเชื้อเอชไอวีที่มารับบริการยาต้านไวรัส ประเมินความรู้ก่อนการทำกิจกรรม 04/04/60

ประชุมทีมเพื่อเสนอปัญหาจากการวิเคราะห์ข้อมูล ที่ยังไม่ผ่านเกณฑ์ของตัวชี้วัดทางคุณภาพ 04/04/60

ประเมินความรู้ก่อนการทำกิจกรรม 04/04/60

อบรมให้ความรู้เรื่องโรคมะเร็งปากมดลูกในหญิงติดเชื้อเอชไอวีทุกคนในวันที่มารับยาต้านไวรัส 04/04/60

กิจกรรมการพัฒนา ( ต่อ ) จัดกิจกรรมเพื่อนช่วยเพื่อนแลกเปลี่ยนจากประสบการณ์จริงในการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก จัดกิจกรรม Talk show เพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์จริงในผู้ที่เคยเป็นมะเร็งปากมดลูก 04/04/60

เพื่อนช่วยเพื่อนแลกเปลี่ยนประสบการณ์จริง ของผู้ที่ตรวจ Pap smears 04/04/60

กิจกรรมTalk showจากประสบการณ์จริง ของผู้ที่ตรวจPap smearsและผู้ที่เป็นมะเร็งปากมดลูก 04/04/60

ประเมินความรู้หลังการอบรม 04/04/60

กิจกรรมการพัฒนา (ต่อ ) กิจกรรมการพัฒนา (ต่อ ) สร้างแรงจูงใจโดยการให้รางวัลแก่ผู้ที่มารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูกเป็นประจำทุกปี ติดตามผลการตรวจมะเร็งปากมดลูกในกลุ่ม ที่มีอาการผิดปกติ เพื่อให้เข้า รับการรักษาทุกราย ติดตามการตรวจมะเร็งปากมดลูกในหญิงติดเชื้อเอชไอวี ทุก 6 เดือน สรุปผลการทำกิจกรรม “ ดูแลด้วยใจห่วงใยด้วย PAP” 04/04/60

สร้างแรงจูงใจในการตรวจ Pap smears โดยการให้รางวัลแก่ผู้ที่มารับบริการตรวจ หรือนำผลตรวจมาให้ในรอบ 1 ปี 04/04/60

สร้างแรงจูงใจโดยการให้รางวัล 04/04/60

ติดตามผลการตรวจPap smears ที่มีอาการผิดปกติ เพื่อให้เข้ารับการรักษาทุกรายและกระตุ้นให้มีการตรวจ Pap smears ในหญิงติดเชื้อเอชไอวี ทุก 6 เดือนหรือ 1 ปี 04/04/60

การวัดผลและผลของการเปลี่ยนแปลง หญิงติดเชื้อเอชไอวีที่รับยาต้านไวรัสฯ ทั้งสิ้น 328 คน เข้ารับการอบรม 313 คนคิดเป็น 95.43 % หญิงติดเชื้อเอชไอวี ที่ผ่านการอบรมได้รับการตรวจPap smears จำนวน 291 คนคิดเป็น 92.97 % พบผลผิดปกติ จำนวน 15 คน คิดเป็น 5.15 % เป็นมะเร็งปากมดลูก 1 คนคิดเป็น 0.34 % 04/04/60

การวัดผลและผลของการเปลี่ยนแปลง ( ต่อ ) การวัดผลและผลของการเปลี่ยนแปลง ( ต่อ ) หญิงติดเชื้อเอชไอวีที่ ตรวจพบผลผิดปกติ ได้รับการรักษาทั้งหมด คิดเป็น 100 % ประเมินความรู้ก่อนและหลังการอบรม พบว่ามีความรู้ความเข้าใจเรื่องมะเร็งปากมดลูก เพิ่มขึ้นจาก 56.42 % เป็น 86.73 % 04/04/60

กราฟแสดงจำนวนการเข้าร่วมกิจกรรม 04/04/60

กราฟแสดงจำนวนผลการตรวจ PAP Smears 04/04/60

กราฟแสดงผลการประเมินความรู้ 04/04/60

บทเรียนที่ได้รับ การทำกิจกรรมกลุ่มต้องใช้กลวิธีการมีส่วนร่วมของ ทีมสหสาขาวิชาชีพ เพื่อให้เกิดความร่วมมือร่วมใจ สร้างความตระหนักในการตรวจคัดกรอง เห็นความสำคัญของการตรวจ PAP smear การติดตามผล ต่อเนื่อง เน้นย้ำบ่อย ๆ การพัฒนาระบบบริการตรวจ PAP Smear เชิงรุก รพสต. 04/04/60

ขอบคุณค่ะ 04/04/60