ดูแล ด้วยใจ ห่วงใยด้วย pap โดย ลาเดือน แก้วจินดา 04/04/60
บริบท โรงพยาบาลดอกคำใต้ โรงพยาบาลดอกคำใต้ เป็นโรงพยาบาล 30 เตียง ตั้งอยู่ในเขตตำบลดอนศรีชุมรับผิดชอบ 12 หมู่บ้าน ผู้ป่วยนอกเฉลี่ย 494 คน/วัน อัตราครองเตียง 139 % 04/04/60
ข้อมูลผู้ติดเชื้อเอชไอวี/ผู้ป่วยเอดส์ที่ขึ้นทะเบียนสะสม ประเภทผู้ขึ้นทะเบียน จำนวน (ราย) ปี 2553 ปี 2554 ปี 2555 1. ผู้ติดเชื้อไม่มีอาการ 289 295 291 2. ผู้ติดเชื้อมีอาการ 285 275 281 3. ผู้ป่วยเอดส์ 243 240 242 รวม 817 810 814 ได้รับการรักษาด้วยยาต้านไวรัส 545 600 617 04/04/60
กราฟแสดงข้อมูลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์สะสม ปีงบประมาณ 2553-2555 กราฟแสดงข้อมูลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์สะสม ปีงบประมาณ 2553-2555 04/04/60
04/04/60
ปัญหาและสาเหตุ จากการวิเคราะห์ข้อมูลและมีการวัดการพัฒนาคุณภาพบริการโดยใช้โปรแกรม HIVQUAL-T พบว่า การดูแลเรื่อง PAP Smearในหญิงติดเชื้อเอชไอวี ต่ำกว่าเกณฑ์ ตรวจเพียง 38 % เป็นมะเร็งปากมดลูก 2.88 % เสียชีวิตจากการรักษาล่าช้า 33.33 % ประเมินความรู้ 56.42 % 04/04/60
สรุปผลงานโดยย่อ การสร้างแรงจูงใจ ให้หญิงติดเชื้อเอชไอวี ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกต้องใช้กิจกรรมที่น่าสนใจโดยใช้กลยุทธ์ “ ดูแลด้วยใจ ห่วงใยด้วย PAP ” จะช่วยให้เกิดความตระหนักในการเข้ารับบริการได้มากขึ้น ส่งผลให้ผู้ที่มีผลตรวจผิดปกติได้รับการรักษาทันเวลา 04/04/60
เป้าหมาย เพื่อเพิ่มความครอบคลุมในการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกของหญิงติดเชื้อเอชไอวี > 80 % เพิ่มความรู้ความเข้าใจเรื่องมะเร็งปากมดลูก > 80 % ผู้ที่ผลตรวจผิดปกติ ได้รับการตรวจรักษา 100 % 04/04/60
กิจกรรมการพัฒนา ประชุมเตรียมทีมในการดำเนินงานโดยใช้กิจกรรม “ ดูแลด้วยใจห่วงใยด้วย PAP” จัดกิจกรรมให้ความรู้เรื่องโรคมะเร็งปากมดลูกในหญิงติดเชื้อเอชไอวีที่มารับบริการยาต้านไวรัส ประเมินความรู้ก่อนการทำกิจกรรม 04/04/60
ประชุมทีมเพื่อเสนอปัญหาจากการวิเคราะห์ข้อมูล ที่ยังไม่ผ่านเกณฑ์ของตัวชี้วัดทางคุณภาพ 04/04/60
ประเมินความรู้ก่อนการทำกิจกรรม 04/04/60
อบรมให้ความรู้เรื่องโรคมะเร็งปากมดลูกในหญิงติดเชื้อเอชไอวีทุกคนในวันที่มารับยาต้านไวรัส 04/04/60
กิจกรรมการพัฒนา ( ต่อ ) จัดกิจกรรมเพื่อนช่วยเพื่อนแลกเปลี่ยนจากประสบการณ์จริงในการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก จัดกิจกรรม Talk show เพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์จริงในผู้ที่เคยเป็นมะเร็งปากมดลูก 04/04/60
เพื่อนช่วยเพื่อนแลกเปลี่ยนประสบการณ์จริง ของผู้ที่ตรวจ Pap smears 04/04/60
กิจกรรมTalk showจากประสบการณ์จริง ของผู้ที่ตรวจPap smearsและผู้ที่เป็นมะเร็งปากมดลูก 04/04/60
ประเมินความรู้หลังการอบรม 04/04/60
กิจกรรมการพัฒนา (ต่อ ) กิจกรรมการพัฒนา (ต่อ ) สร้างแรงจูงใจโดยการให้รางวัลแก่ผู้ที่มารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูกเป็นประจำทุกปี ติดตามผลการตรวจมะเร็งปากมดลูกในกลุ่ม ที่มีอาการผิดปกติ เพื่อให้เข้า รับการรักษาทุกราย ติดตามการตรวจมะเร็งปากมดลูกในหญิงติดเชื้อเอชไอวี ทุก 6 เดือน สรุปผลการทำกิจกรรม “ ดูแลด้วยใจห่วงใยด้วย PAP” 04/04/60
สร้างแรงจูงใจในการตรวจ Pap smears โดยการให้รางวัลแก่ผู้ที่มารับบริการตรวจ หรือนำผลตรวจมาให้ในรอบ 1 ปี 04/04/60
สร้างแรงจูงใจโดยการให้รางวัล 04/04/60
ติดตามผลการตรวจPap smears ที่มีอาการผิดปกติ เพื่อให้เข้ารับการรักษาทุกรายและกระตุ้นให้มีการตรวจ Pap smears ในหญิงติดเชื้อเอชไอวี ทุก 6 เดือนหรือ 1 ปี 04/04/60
การวัดผลและผลของการเปลี่ยนแปลง หญิงติดเชื้อเอชไอวีที่รับยาต้านไวรัสฯ ทั้งสิ้น 328 คน เข้ารับการอบรม 313 คนคิดเป็น 95.43 % หญิงติดเชื้อเอชไอวี ที่ผ่านการอบรมได้รับการตรวจPap smears จำนวน 291 คนคิดเป็น 92.97 % พบผลผิดปกติ จำนวน 15 คน คิดเป็น 5.15 % เป็นมะเร็งปากมดลูก 1 คนคิดเป็น 0.34 % 04/04/60
การวัดผลและผลของการเปลี่ยนแปลง ( ต่อ ) การวัดผลและผลของการเปลี่ยนแปลง ( ต่อ ) หญิงติดเชื้อเอชไอวีที่ ตรวจพบผลผิดปกติ ได้รับการรักษาทั้งหมด คิดเป็น 100 % ประเมินความรู้ก่อนและหลังการอบรม พบว่ามีความรู้ความเข้าใจเรื่องมะเร็งปากมดลูก เพิ่มขึ้นจาก 56.42 % เป็น 86.73 % 04/04/60
กราฟแสดงจำนวนการเข้าร่วมกิจกรรม 04/04/60
กราฟแสดงจำนวนผลการตรวจ PAP Smears 04/04/60
กราฟแสดงผลการประเมินความรู้ 04/04/60
บทเรียนที่ได้รับ การทำกิจกรรมกลุ่มต้องใช้กลวิธีการมีส่วนร่วมของ ทีมสหสาขาวิชาชีพ เพื่อให้เกิดความร่วมมือร่วมใจ สร้างความตระหนักในการตรวจคัดกรอง เห็นความสำคัญของการตรวจ PAP smear การติดตามผล ต่อเนื่อง เน้นย้ำบ่อย ๆ การพัฒนาระบบบริการตรวจ PAP Smear เชิงรุก รพสต. 04/04/60
ขอบคุณค่ะ 04/04/60