การพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินแบบเชิงรุก ดูแลถึงบ้าน รพ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Homeward& Rehabilitation system
Advertisements

แผนการดำเนินงาน ระยะสั้น II-8 การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
Service Plan สาขา NCD.
การพัฒนาระบบการส่งต่อโรคเรื้อรังใกล้บ้านใกล้ใจ โรงพยาบาลท่ายาง อำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี กฤษณา เปรมศรี 10 มกราคม
NAVY WATER BED 2012.
นำเสนอโดย นางสงวนศรี พลดอน พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลปัตตานี
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านพระแท่น ตำบลพระแท่น อำเภอท่ามะกา จังหวัดกาญจนบุรี รับผิดชอบดูแลพื้นที่ 16 หมู่บ้าน 1 อบต. 1 เทศบาล มีประชากร 9,054 คน.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล คอนสาย-ค้อใหญ่
ทีมนิเทศงานจากสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนคร
การพัฒนาระบบส่งต่อ การดูแลสุขภาพเขตเมือง
บทเรียน Best Practice ของระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว
ดูแล ด้วยใจ ห่วงใยด้วย pap โดย ลาเดือน แก้วจินดา 04/04/60.
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
แนวนโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
การบูรณาการงาน HIV CARE สู่งานพัฒนาคุณภาพ
การส่งเสริมวินัยการกินยาต้านไวรัสเอดส์
25/07/2006.
การดูแล ผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
โรงพยาบาลทุ่งสง นครศรีธรรมราช
ระบบHomeward& Rehabilation center
ชุมชนคลองตาแป้น ศูนย์บริการสาธารณสุข 62 ตวงรัชฏ์ ศศะนาวิน ภักดี ฐานปัญญา
การพัฒนาเครือข่ายในระบบบริการ สาธารณสุขให้มีการพัฒนาระบบ บริการสุขภาพจิตและจิตเวช สำหรับ รพศ. รพท. รพช. รพสต. พรประไพ แขกเต้า งานสุขภาพจิตและจิตเวชชุมชน.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
เขต 15 เขต 15: เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แม่ฮ่องสอน.
สรุปการประชุม เขต 10.
น.พ. ศิริวัฒน์ ทิยพ์ธราดล
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
ไข้เลือดออก.
ประเด็นในการนำเสนอระบบข้อมูลสารสนเทศของ รพ.สต.
แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริม ป้องกันและควบคุมโรคธาลัสซีเมีย
บุคลากรของเรา นวก.สาธารณสุข 3 คน พยาบาลเวชปฏิบัติ 2 คน
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
การดำเนินงานแก้ไขปัญหา การเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด ห้องคลอด
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สสจ.อุดรธานี
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
นโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
บทเรียนการดำเนินการให้บริการบำบัดผู้เสพยาสูบ แบบครบวงจร
โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์
การจัดบริการสุขภาพ ผู้สูงอายุไทย
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
เพิ่มภาพ แผนที่ตำบล หรือภาพกิจกรรมชมรมสูงอายุในพื้นที่
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
กิจกรรมพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง (CQI)
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 เดือน กรกฎาคม 2556 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
การพัฒนางานวิกฤตสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2558
การดำเนินงานสุขภาพจิตเครือข่าย ในเขตสุขภาพที่10 ปีงบประมาณ 2558
รพ. สระใคร อ. สระใคร จ. หนองคาย
การปฏิบัติตามนโยบาย ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 เดือน มีนาคม 2556 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2555 เดือนมกราคม

กรอบการจัดทำแผนพัฒนาโรงพยาบาล ร้อยเอ็ด ประจำปี ๒๕๕๖ แนวคิด ปี ๒๕๕๖ ปีแห่งการวิเคราะห์และประเมิน ตนเองอย่างเข้มข้น วิเคราะห์เพื่อ พัฒนางาน ให้ได้ตาม มาตรฐาน.
โครงการพัฒนาระบบข้อมูล เพื่อการจัดการสุขภาพระดับอำเภอ
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
เกณฑ์การส่งต่อผู้ป่วย COPD ดูแลต่อเนื่องที่บ้าน
นวัตกรรม7สี ปันรัก ไกลโรค ปี2556
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
ผลงานเด่นรพ.สต.บ้านทุ่งปี,54
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ประจำปีงบประมาณ 2554.
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
คลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2555 เดือนพฤศจิกายน.
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 เดือน พฤศจิกายน 2555 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินแบบเชิงรุก ดูแลถึงบ้าน รพ การพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินแบบเชิงรุก ดูแลถึงบ้าน รพ.พญาเม็งราย จ.เชียงราย ดำรงค์ ช่วยแก้ไข พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ

ปัญหาของระบบบริการการแพทย์ ฉุกเฉินของ โรงพยาบาล??? ปัญหาของระบบบริการการแพทย์ ฉุกเฉินของ โรงพยาบาล???

การเข้าถึงระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินน้อย

ขาดการดูแลต่อเนื่อง เกิดปัญหา.............. ขาดการดูแลต่อเนื่อง เกิดปัญหา.............. Re-visit Re-admit

วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินของโรงพยาบาลพญาเม็งรายให้เป็นแบบเชิงรุก เพื่อให้เกิดการดูแลผู้ป่วยอย่างต่อเนื่อง

กิจกรรมที่ได้ทำ

การสร้างภาคีเครือข่ายกับ รพ.สต. ผู้นำชุมชน อสม. การสร้างภาคีเครือข่ายกับ รพ.สต. ผู้นำชุมชน อสม.

ประชาสัมพันธ์โดยการพบปะในชุมชน

การสร้างสื่อประชาสัมพันธ์

การใช้สื่อประชาสัมพันธ์

ประชาสัมพันธ์หน่วยงานราชการต่างๆ

การสร้างอาสาฉุกเฉินชุมชน(อฉช.) ในโรงเรียนและชุมชน

EMS MEMBER CLUB จัดทำบัตรสมาชิก สมัครสมาชิก จัดทำแผนที่บ้านสมาชิก

คุณสมบัติสมาชิก EMS MEMBER CLUB ต้องมีคุณสมบัติข้อใดข้อหนึ่งอย่างน้อย 1 ข้อดังต่อไปนี้ 1.ผู้ป่วยที่มีประวัติเป็น AMI , Stroke ทุกราย 2.ผู้ป่วย DM , HT ที่ไม่สามารถคุมระดับน้ำตาลหรือระดับความดันโลหิตได้ 3.ผู้ป่วยประเภท Urgency และ Emergency ที่มา revisit หรือไม่พาหนะนำส่งโรงพยาบาลเมื่อเจ็บป่วยฉุกเฉิน 4.ผู้ป่วยหลังรับบริการEMS แล้วเมื่อกลับบ้านเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนภายหลัง 5.ผู้ป่วยที่มีโรคประจำตัวที่มักมีการกำเริบของโรคบ่อยๆเช่น Asthma , COPD , CA , ESRD 6.ผู้สูงอายุที่มีโรคประจำตัว ไม่มีคนดูแลและมีการกำเริบของโรคบ่อยๆ 7.หญิงตั้งครรภ์ที่เสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อนฉุกเฉิน เช่น Premature contraction , Abortion

จัดทำทะเบียนสมาชิก EMS MEMBER CLUB NO. ชื่อ-สกุล ที่อยู่ โรคประจำตัว จำนวนการรับบริการ วันที่ออกเยี่ยม เบอร์โทรติดต่อ ตำแหน่งบ้าน 3 นายชุม ปัญญาใจ 30-8-เม็งราย COPD //// 20/8/55 084-6156180 ซอย 5 รร.บ้านเวียงหวาย เลยประปาหมู่บ้าน 500 M. 4. นายจันทร์ เขียวอุด 57-1-แม่เปา COPD, HT, BPH ////* /// 2/7/55 ,17/9/55 - ติดวัดสัญเจริญ บ้านอยู่ขวามือทางไปขุนห้วยฯ 5. นางติ๊บ คำแก้ว 41-11-ผางาม COPD, HT / 089-2654632 บ้านร่องเจริญเลยโป่งคำฟิชชิ่ง 500M บ้านอยู่ขวามือ 6. นางคำ อภิวงศ์ 107-4-แม่เปา เลยตลาดบ้านทุ่งเจ้า 7. นายบุญยืน รักประชา 5-13-เม็งราย COPD ,ESRD 089-0268556 ซอย 9 เลยวัดป่าซาง บ้านอยู่ซ้ายมือ

EMS MEMBER CLUB การติดตามเยี่ยมสมาชิก EMS MEMBER CLUB

ผลลัพธ์

การติดตามเยี่ยมผู้ป่วยสมาชิก EMS MEMBER CLUB(95 ราย) ผู้ป่วยกลุ่มสีแดงในเขตรับผิดชอบทั้งหมด 67 ราย ได้รับการติดตามเยี่ยม 50 ราย คิดเป็น 75% ผู้ป่วย MI ในเขตรับผิดชอบ 17 ราย ติดตามเยี่ยมได้ 100 %(ผู้ป่วยกลุ่ม Stroke 28 ราย เหลือ 17 รายอยู่ในช่วงดำเนินการเยี่ยม) ผู้ป่วยกลุ่มสีเขียว 21 รายได้รับการส่งต่อให้รพ.สต.ดูแลต่อเนื่อง ผู้ป่วยกลุ่มสีแดงนอกเขตรับผิดชอบ 7 รายได้รับการส่งต่อให้ โรงพยาบาลในเขตรับผิดชอบดูแล ไม่พบภาวะแทรกซ้อนเพิ่มเติมหรือการเสียชีวิตของสมาชิก

ปัญหาที่พบจากการเยี่ยมบ้าน อยู่เพียงลำพังขาดคนดูแล ลูกแยกครอบครัวออกไป คนดูแลมีแต่ไม่มีความรู้หรือรู้ไม่พอ ไม่มีพาหนะนำส่งโรงพยาบาลเมื่อเจ็บป่วยฉุกเฉิน ภาวะแทรกซ้อน เช่น แผลกดทับ ข้อติด การใช้ยา สะสมยา

นำปัญหาที่พบมาแก้ไข

สมาชิก EMS MEMBER CLUB ที่มีปัญหาได้รับการดูแลต่อเนื่องโดยสหวิชาชีพ

ผู้ป่วยแผลกดทับ ผู้ป่วยที่ทำแผลเองที่บ้าน เยี่ยมบ้านร่วมกับIC และ รพ.สต.ในเขตรับผิดชอบ

ผู้ป่วยไม่มีคนดูแล สู่นวัตกรรมเกราะไม้ขอความช่วยเหลือยามฉุกเฉิน ผู้ป่วยไม่มีคนดูแล สู่นวัตกรรมเกราะไม้ขอความช่วยเหลือยามฉุกเฉิน

การเข้าถึงบริการที่มากขึ้น

ประเภทการรับบริการ

ผู้รับบริการประเภทNon-Traumaแยกตามระดับความรุนแรง

ผู้รับบริการประเภทTraumaแยกตามระดับความรุนแรง

ประเภทผู้ป่วยที่รับบริการ

“สำหรับผมแล้วระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน หาได้แค่รับผู้ที่เจ็บป่วยฉุกเฉินมารักษาที่โรงพยาบาลแล้วจบแค่นั้น แต่ต้องรู้ด้วยว่าเมื่อเขาหายแล้วกลับบ้านแล้วเขากิน เขาอยู่ เขาใช้ชีวิตหรือมีปัญหาอะไร เพื่อที่เราจะได้ดูแลเขาอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน ”