โรงพยาบาลขุนยวม จังหวัดแม่ฮ่องสอน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Homeward& Rehabilitation system
Advertisements

ผลการปฏิบัติงานตามคำรับรองการปฏิบัติงานของ
ประสบการณ์และวิธีการจัดการความรู้ ในงานบริการพยาบาล
ระบบส่งเสริมการเกษตร
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
แผนการดำเนินงาน สคร.5 ลำดับที่ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ หมายเหตุ 1
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
หลักการและเหตุผล แผนกลยุทธ์และแผนงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธ์ศาสตร์ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ ปี เป็นแผนที่จัดทำขึ้นจากการมีส่วนร่วมของคณะทำงานซึ่งเป็นผู้แทนของหน่วยงานในสังกัดกรมฯทั้งส่วนกลางและส่วนภูมิภาค.
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
ทิพาพร เสถียรศักดิ์พงศ์
ทิพาพร เสถียรศักดิ์พงศ์
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
HA 2011 overall scoring และการนำไปใช้เพื่อพัฒนาคุณภาพรพ.
การสร้างเครือข่ายการเรียนรู้ รพ.ในเครือข่ายศูนย์ความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาคุณภาพ พญ.พัชรี ขันติพงษ์ รพ.เชียงรายประชานุเคราะห์ ๗ มีนาคม ๒๕๕๔.
โครงการพัฒนาคุณภาพระบบบริการโรงพยาบาล
กำหนดงานพัฒนาคุณภาพที่จะสร้างระบบช่วยกันในเครือข่าย
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
การควบคุมวัณโรคเขตเมือง
แนวทางการสนับสนุนงบประมาณ องค์กรเอกชนด้านเอดส์
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงาน
แนวทางการจัดทำมาตรฐานความโปร่งใสของกรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2557
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
โรงพยาบาล หน่วยบริการ.
การบูรณาการงาน HIV CARE สู่งานพัฒนาคุณภาพ
1. 1. กลุ่มองค์กร ปกครองส่วน ท้องถิ่น 2. เจ้าหน้าที่ รพ. สต และ เจ้าที่ในรพ. 3. ครู
โดย นางสาวสุพิศ ศรีบุศยดี ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านสวัสดิการ และคุ้มครองแรงงาน.
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
กลุ่ม 4 รพช.( ไม่มีแพทย์ ดำเนินการ ) นำเสนอโดย นางสมรัก ชักชวน รพ. ตรอน จ. อุตรดิตถ์
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ กลไกการสนับสนุนการ ดำเนินงาน โรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพ ตำบล และ การพัฒนาระบบรับ - ส่งต่อแบบ บูรณาการ 2552.
สรุปการประชุม เขต 10.
สำนักประสานการพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
สรุปแนวทาง การระดมความคิดเห็น กลุ่มย่อยที่ 4
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนลักษณะสำคัญขององค์กร :
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
พัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล
ระเบียบวาระการเตรียมทีมนิเทศงาน ปี 2557
เป้าหมายการประชุม บูรณาการการนิเทศ ติดตาม ประเมินผลใน รพ.สต.
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
มาตรฐานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
อย.น้อย : เริ่มต้น และความคาดหวัง รวบรวมโดย...กฤษณา แป้นงาม
การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอ District Health System (DHS)
มุมมองการพัฒนาและขับเคลื่อน งานกองทุนฯอย่างยั่งยืน
บันได 3 ขั้น ความสำเร็จในการพัฒนาคุณภาพ
ผลการดำเนินงาน การพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล
การประเมินคลินิกNCD คุณภาพ
การตรวจประเมินรับรอง รอบ 2 มาตรฐานงานสุขศึกษา
:: Pitfall : การบริหารการพยาบาล ::
ผลการสำรวจความต้องการ ความ คาดหวัง และความพึงพอใจ ของภาคีเครือข่ายด้านการส่งเสริม สุขภาพและพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่รับผิดชอบ ต่อศูนย์อนามัยที่
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
แนวทางการบันทึก และตรวจประเมินคุณภาพ การบันทึกเวชระเบียน ผู้ป่วยนอก
กลุ่มงานทันตสาธารณสุข สสจ.เลย
สรุปผลงานส่วนสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ประจำปีงบประมาณ พ. ศ โครงการรณรงค์ฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ประจำปี 2555 ระยะเวลาดำเนินการ วันที่ 1.
การบริหารและพัฒนาบุคลากร HR /HRD
แนวทางการพัฒนาเพื่อธำรงบันไดขั้นที่ 2 สู่ HAการสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) พฤศจิกายน 2557.
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ประชุมชี้แจงการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2556 “เพิ่มประสิทธิภาพหลักประกันสุขภาพไทย” ระหว่างวันที่ ตุลาคม 2555 ณ โรงแรมเซ็นทราศูนย์ราชการ.
การพัฒนาระบบบริการทุติยภูมิและปฐมภูมิ
คุณค่าคนทำงาน คือการทำงานให้มี คุณภาพ ตอบสนองความต้องการ ของผู้รับบริการทั้งภายนอกและ ภายในตามมาตรฐานวิชาชีพ เป้าหมายของการทำงาน คือ การ ให้บริการที่มี
1 Quality Improvement Tract สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล ( องค์การมหาชน )
ทำไมต้องทำ HA ? เพราะทำให้เกิดระบบงานที่ดี
DHS.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โรงพยาบาลขุนยวม จังหวัดแม่ฮ่องสอน โรงพยาบาลขุนยวม จังหวัดแม่ฮ่องสอน

วิสัยทัศน์ ประทับใจบริการ มีมาตรฐานการรักษา พัฒนาร่วมกับชุมชน

พันธกิจ โรงพยาบาลขุนยวมจะให้บริการ โดยการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค รักษาพยาบาล และ ฟื้นฟูสภาพให้ครอบคลุมองค์รวม เน้นความปลอดภัย และให้ชุมชนมีส่วนร่วม

โครงสร้าง งานพัฒนาคุณภาพ โรงพยาบาลขุนยวม ประกอบด้วย โครงสร้าง งานพัฒนาคุณภาพ โรงพยาบาลขุนยวม ประกอบด้วย 1. กรรมการบริหารโรงพยาบาลขุนยวม 2. ทีมนำพัฒนาคุณภาพ ทีมนำทางคลินิก 7 ทีม RM PCT IC IM ENV HRD HPH 4. หน่วยงานย่อย 21 หน่วยงาน

- ผ่านการรับรองคุณภาพโรงพยาบาล บันไดขั้นที่ 1 ผลการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลขุนยวม - ผ่านการรับรองคุณภาพโรงพยาบาล บันไดขั้นที่ 1 เมื่อวันที่ 2 มีนาคม 2548

- ผ่านการรับรองคุณภาพโรงพยาบาล บันไดขั้นที่ 2 ผลการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลขุนยวม - ผ่านการรับรองคุณภาพโรงพยาบาล บันไดขั้นที่ 2 เมื่อวันที่ 8 มีนาคม 2550

ผลการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลขุนยวม ตอบรับโครงการ การเยี่ยมเพื่อรับรู้ และเรียนรู้คุณภาพสำหรับโรงพยาบาล ในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปี 2552

ผลการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลขุนยวม - ผลการประเมินคะแนน ครั้งที่ 1 วันที่ 22 เมษายน 2552 Overall scoring = 2.4 ผ่านการรับรองคุณภาพโรงพยาบาลบันไดขั้นที่ 2 ระยะเวลาการรับรอง 25 มิถุนายน 2552 - 24 มิถุนายน 2553

ผลการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลขุนยวม - ผลการประเมินคะแนน ครั้งที่ 2 วันที่ 17 มีนาคม 2553 Overall scoring = 2.8 ผ่านการรับรองคุณภาพโรงพยาบาลบันไดขั้นที่ 2 ระยะเวลาการรับรอง 30 กรกฎาคม 2553 - 29 กรกฎาคม 2554

ผลการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลขุนยวม - เข้าเกณฑ์ กลุ่ม 2 ข้อ จ. พัฒนาและรับรอง HA ด้วยตนเอง สปสช.สนับสนุนงบประมาณ 335,000.-บาท

แผนพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล ลำดับ กิจกรรม กพ มีค เมย พค มิย กค สค กย ตค พย ธค 1 ประกาศนโยบายมุ่งมั่นพัฒนาคุณภาพเพื่อรับรอง HAให้ผ่านภายใน ธค 54 2 ศึกษาดูงานพัฒนาคุณภาพรพ.ปาย 3 กิจกรรมเสริมพลัง เพิ่มพูนความรู้ สู่เส้นทางการรับรองคุณภาพ 4 รวบรวมเอกสารต่างๆส่งให้ HACC CRH และ สรพ. 5 เตรียมรับการประเมิน Over all จากทีม HACC CRH

แผนพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล ลำดับ กิจกรรม กพ มีค เมย พค มิย กค สค กย ตค พย ธค 6 ทีมนำระดับคลินิกทุกทีม หน่วยงานย่อย รวบรวมผลการดำเนินงานและเอกสาร ตามรูปธรรม 5 7 จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ /เรื่องเล่าจากงานพัฒนาคุณภาพทุกเดือน 8 ส่ง Good Practice ของรพ. เข้าร่วมกิจกรรมระดับจังหวัด/เขต 9 ซ้อมเยี่ยม Internal Survey โดยรพ.ปายเป็นพี่เลี้ยง 10 ขอรับการ Pre-survey จากสรพ.

แผนพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล ลำดับ กิจกรรม กพ มีค เมย พค มิย กค สค กย ตค พย ธค 11 ขอ Accreditation

ปัญหาการดำเนินงานที่ผ่านมา 1. ผู้ให้บริการ - การโยกย้าย เปลี่ยนแปลงผู้รับผิดชอบงาน - มีจำนวนน้อย มีภาระงานประจำมาก - ต้องหมุนเวียนปฏิบัติงาน ขาดความต่อเนื่อง

ปัญหาการดำเนินงานที่ผ่านมา 2 . ผู้รับบริการ - ความคาดหวังของผู้รับบริการ - ข้อร้องเรียนบริการจากผู้รับบริการ ส่งผลให้ผู้รับบริการท้อแท้ ขาดกำลังใจในการปฏิบัติงาน

ปัญหาการดำเนินงานที่ผ่านมา 3. อื่นๆ - ระบบการประสานงานคุณภาพ - ทีมพี่เลี้ยง การกระตุ้นอย่างต่อเนื่อง - การประเมินคุณภาพจากหลายสถาบัน

ขอบคุณค่ะ