ระบบสารสนเทศเพื่อการขายสินค้า ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต กรณีศึกษา : ………………
ขอบเขตการทำงาน ลูกค้าสามารถสมัครเป็นสมาชิกเพื่อซื้อสินค้าได้ด้วยตนเอง จัดการข้อมูลสินค้าในร้านโดยผู้ดูแลระบบ (เจ้าของร้าน) สมาชิกสามารถทำรายการซื้อสินค้าได้ตามต้องการ ระบบจะทำการยืนยันรายการสั่งซื้อกลับมายังสมาชิก (ใบสั่งซื้อ) ลูกค้าชำระเงินตามใบสั่งซื้อ และแจ้งการชำระเงินให้กับระบบ ผู้ดูแลระบบตรวจสอบการชำระเงินที่ตรงกับรายการแจ้ง และจัดสิ่งสินค้าพร้อมทั้งแจ้งเลขที่การส่งสินค้าให้กับสมาชิกทราบ ....
ผู้ซื้อ ผู้ขาย ข้อมูลสินค้า ข้อมูลส่วนตัว 1.0 สมัครสมาชิก 2.0 จัดการสินค้า รายการส่งสินค้า ข้อมูลสมาชิก ใบสั่งซื้อ ข้อมูลสินค้า สมาชิก ลดจำนวนสินค้า สินค้า ข้อมูลการส่งสินค้า 3.0 ซื้อสินค้า ข้อมูลสินค้า ข้อมูลสมาชิก 6.0 จัดส่งสินค้า รายการซื้อ ข้อมูลการสั่งซื้อ ข้อมูลการซื้อ ชำระเงิน รายการชำระเงิน 4.0 ส่งใบสั่งซื้อ รายการซื้อ ข้อมูลการชำระเงิน ข้อมูลการซื้อ ข้อมูลการซื้อ 5.0 แจ้งชำระเงิน แจ้งชำระเงิน แจ้งส่งสินค้า
ควรทำส่วนใดเพิ่มอีกบ้าง ?????? ส่วนของรายงาน รายงานสรุปรายการสั่งซื้อสินค้าประจำวัน รายงานสรุปรายการแจ้งชำระเงินประจำวัน รายงานสรุปการจัดส่งสินค้าประจำวัน รายงานรายชื่อสมาชิก รายงานรายชื่อสินค้า .....
ควรทำส่วนใดเพิ่มอีกบ้าง ?????? ส่วนของการสืบค้น หรือแสดงผล สินค้ามาใหม่ สินค้าขายดี ลูกค้าที่ Black list .....
ควรทำส่วนใดเพิ่มอีกบ้าง ?????? ส่วนของการรักษาความปลอดภัยของระบบ การทำธุรกรรมใดๆ จะต้อง log in เสมอ ยกเว้นการดูข้อมูลสินค้า หรือข้อมูลพื้นฐานของร้าน การทำรายการซื้อสินค้า แจ้งชำระเงิน ลูกค้าจะต้อง log in เข้าสู่ระบบก่อน เมื่อลูกค้าอยู่ในระบบ สามารถที่จะตรวจสอบรายการสั่งซื้อที่ผ่านมา รวมทั้งมีสถานะบอกว่าใบสั่งซื้อใดชำระเงินแล้ว ใบสั่งซื้อใดยังไม่ชำระเงิน
รายการสั่งซื้อสินค้า เลขที่ใบสั่งซื้อ วันที่สั่งซื้อ สถานะ ชื่อลูกค้า......................................................................... รายการสั่งซื้อสินค้า เลขที่ใบสั่งซื้อ วันที่สั่งซื้อ สถานะ xxxxx xxxxx xxxx
เลขที่ใบสั่งซื้อ วันที่สั่งซื้อ สถานะ ชื่อลูกค้า......................................................................... แจ้งชำระเงิน เลขที่ใบสั่งซื้อ วันที่สั่งซื้อ สถานะ xxxxx xxxxx xxxx
ควรทำส่วนใดเพิ่มอีกบ้าง ?????? เจ้าของร้านหรือผู้ดูแลระบบ จะต้อง log in เข้าสู่ระบบก่อน เมื่อเจ้าของร้านอยู่ในระบบ สามารถที่จะตรวจสอบรายการสั่งซื้อ รายการสั่งซื้อที่แจ้งชำระเงิน รายการสั่งซื้อที่จัดส่ง ฯลฯ ..........
การแปลงแหล่งเก็บข้อมูลเป็น E-R Diagram แหล่งเก็บข้อมูลที่เป็น primary หรือเป็น master จะถูกแปลงไปเป็น strong entity แหล่งเก็บข้อมูลที่เป็น secondary หรือเกิดจาก process ที่มี input มาจากแหล่งเก็บอื่นๆ จะเป็น entity ที่เกิดจากความสัมพันธ์
Entity สมาชิก member สินค้า product
Attribute Address Name Phone E-mail ID member
Attribute product
ผู้ซื้อ ผู้ขาย ข้อมูลสินค้า ข้อมูลส่วนตัว 1.0 สมัครสมาชิก 2.0 จัดการสินค้า ข้อมูลสมาชิก ใบสั่งซื้อ ข้อมูลสินค้า สมาชิก ลดจำนวนสินค้า สินค้า 3.0 ซื้อสินค้า ข้อมูลสินค้า ข้อมูลสมาชิก 6.0 จัดส่งสินค้า รายการซื้อ ข้อมูลการซื้อ ชำระเงิน 4.0 ส่งใบสั่งซื้อ รายการซื้อ ข้อมูลการซื้อ ข้อมูลการซื้อ 5.0 แจ้งชำระเงิน แจ้งส่งสินค้า แจ้งชำระเงิน
M N Relationship Buy member product N 1 M N member Buy product make have product
member Buy product Buy Buy_detail product member N 1 N member make Buy have product N 1 1 N have Buy Buy_detail have product N make 1 member
ใบสั่งซื้อสินค้า รายการสั่งซื้อสินค้า ร้าน.................. วันที่.................เวลา.......... ชื่อลูกค้า................................................ ที่อยู่ .................................................... เลขที่ใบสั่งซื้อ...................... รายการสั่งซื้อสินค้า รหัสสินค้า ชื่อสินค้า จำนวน ราคา ราคารวม xxxxx xxxxxxxxxxxxxxxxxxxx xx xxx xx,xxx รวมสินค้า ................ ชิ้น ราคาสินค้ารวม .................. บาท ค่าจัดส่ง ................... บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น ...................... บาท หมายเหตุ ............................................................................................................................... ......................................................................................................
Buy Payment Payment Deliver 1 1 Buy take Payment 1 1 Payment have Deliver
member Buy Buy_detail product Payment Deliver 1 make N N 1 1 N have Buy Buy_detail have product 1 take 1 1 1 have Payment Deliver
Mapping One-to-One เอา Primary key ของ Entity ที่มีความสัมพันธ์ แบบ mandatory (บังคับให้ทุกสมาชิกใน Entity เข้าร่วมในความสัมพันธ์) มาเป็น foreign key ใน Relation ของ Entity ฝั่งที่เป็น optional
Mapping One-to-Many เอา Primary key ของ Entity ฝั่ง One มาเป็น foreign key ให้ Relation ของ Entity ฝั่ง many
Mapping Many-to-Many สร้าง Relation ขึ้นมาใหม่ โดยเอา primary keys ของทั้งสอง Entity มาเป็น primary key ร่วมกัน