ตัวอย่างการประเมินฯ ของกรมสารขัณฑ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แผนการดำเนินงานฝ่ายบริหารทั่วไป ปี พฤศจิกายน 2555
Advertisements

แนวทางการจัดทำรายงานประเมินผลการควบคุมภายใน
หน้าที่ความรับผิดชอบ
กระบวนการจัดส่งรายงานการบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน
สำนักบริหารงานวิรัชกิจ
บทที่ 1 ลักษณะของระบบบัญชี
สำนักงานตรวจสอบภายใน
Graduate School Khon Kaen University
การจัดทำรายงานการควบคุมภายใน ตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน
ประจำเดือนกุมภาพันธ์ ๕๕
ห้องประชุม กรมชลประทานที่ 11 ปากเกร็ด นนทบุรี
นางสาววราภรณ์ สุภเกษมวงศ์
โครงการพัฒนา (Cross Function) กลุ่ม Tsunami2.
ถุงเงิน ถุงทอง.
เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร
การรับและนำส่งเงินรายรับค่ารักษาพยาบาล
นายชยันต์ หิรัญพันธุ์
สำนักบริหาร การมีส่วนร่วมของประชาชน
การตั้งเบิกเพื่อจ่ายบุคคลภายนอก-อ้างอิงใบสั่งซื้อ/สัญญา
การนำเสนอผลงานสร้างสรรค์ดีเด่น
การปรับปรุงโครงสร้างภายในกองพัสดุ เสนอที่ประชุม
ส่วนมาตรฐาน/ส่วนวิชา การ/ส่วนวิศวกรรม
การนำเสนอผลงานสร้างสรรค์ดีเด่น
การเริ่มต้นและการวางแผนโครงการ
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
การตรวจสอบ การตรวจสอบ คือ กระบวนการที่เป็นระบบ
ตัวชี้วัดตามคำรับรองของ กพร. กรมส่งเสริมสหกรณ์
นโยบายการคลัง.
การบริหารการเงินโรงเรียน
โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ไทย ทิพย์สุวรรณกุล
โดย วชิรวิชญ์ มธุรสสุวรรณ
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
แนวทางการดำเนินงานโครงการสำคัญ ปีงบประมาณพ.ศ.2554 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
โครงการเปลี่ยนระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐ สู่ระบบอิเล็กทรอนิกส์
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสำนักงาน และการบริหารงานสำนักงาน
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ระดับหน่วยงาน แบบ ปย.1 แบบ ปอ.1 แบบ ปส. แบบ ปย.2 แบบ ปอ.2 แบบ ปอ.3
สรุปผลการประเมินผลการควบคุมภายใน
การประเมินผลการควบคุมภายใน
ชื่อหน่วยงาน ฝ่าย/งาน ก.
แนวทางการจัดทำมาตรฐานความโปร่งใสของกรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2557
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
มาตรฐานทางการเงิน 7 ด้าน
ตัวชี้วัดที่ 6 การดำเนินการด้านพัสดุถูกต้อง เป็นระบบ ตรวจสอบได้ง่าย
คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ระเบียบวาระที่ 3.2 ความก้าวหน้าของการจัดทำฐานข้อมูลระบบสารสนเทศข้าราชการระดับกรม (DPIS)
โดย วัชรินทร์ จำปี รองเลขาธิการ กศน.
ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงาน (Operational Risk)
การบริหารสำนักงาน ด้วยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
คือ ระบบบัญชีคอมพิวเตอร์
การตรวจสอบ และการควบคุมภายใน
ฝ่ายบริหารทั่วไป หน้าที่ความรับผิดชอบ รับผิดชอบการปฏิบัติงานบริหารทั่วไป ได้แก่ งานธุรการ งานสารบรรณ งานการเงิน บัญชี และพัสดุ งานยานพาหนะ งานจัดทำและบริหารงบประมาณ.
วันที่ 1 กรกฎาคม 2557 ณ ห้องประชุมชั้น 7 โรงพยาบาลศูนย์อุดรธานี
แผนปฏิรูปงานสำนักงาน เศรษฐกิจการคลัง การพัฒนา ทรัพยากร บุคคล การสร้าง ความเชื่อมั่น และความรู้ ความเข้าใจ ในเชิงรุก การปฏิรูป ระบบงาน และ IT และ IT สศค.

ระบบสารสนเทศย่อยทางธุรกิจ Business Information systems
Assessment and Evaluation System
แนวทางการรายงาน ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
Planing : ระบบการวางแผนงบประมาณ
ข้อสังเกตจากการตรวจสอบ ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไข
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
แบบประเมินความเสี่ยงและการควบคุม
Progress Report 2548 Financial Report Link to Progress Report 2550 Capacity Building 2551 Estimates Report Link to Excel Loader KPI Strategy.
โครงการจัดตั้งสายวิชาบริหารธุรกิจและเศรษฐศาสตร์
การพัฒนาและเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบ Office Automation
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
1. ความหมายขององค์กรธุรกิจ องค์กรธุรกิจ หมายถึง กลุ่มคนซึ่งร่วมกันทำกิจกรรมทางธุรกิจเพื่อหวัง ผลตอบแทนเป็นกำไรและการลงทุน 2. ระบบสารสนเทศในเชิงธุรกิจ.
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการคลังท้องถิ่น จังหวัดนครราชสีมา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ตัวอย่างการประเมินฯ ของกรมสารขัณฑ์ บุคลากรรวม 2,000 คน และได้รับจัดสรรงบประมาณ 5,000 ล้านบาท โครงสร้างการแบ่งส่วนงาน ดังนี้ สำนักงานเลขานุการกรม สถาบันการพัฒนาฝีมือแรงงาน สำนักการเงินและการคลัง ศูนย์คอมพิวเตอร์ สำนักบริหารพัสดุ สำนักทรัพยากรบุคคล สำนักพัฒนาฝีมือแรงงานภูมิภาคที่ 1-15

กิจกรรมที่สำคัญของสำนักบริหารพัสดุ งานจัดซื้อจัดจ้าง 3. งานบำรุงรักษา งานทะเบียนพัสดุ 4. งานบริหารทั่วไป

การกำหนดวัตถุประสงค์ วัตถุประสงค์ระดับกิจกรรม สำนักบริหารพัสดุ ดูแลบำรุงรักษาทรัพย์สินขององค์กรให้ให้บริการจัดหาพัสดุได้ตามความต้องการของส่วนงานต่าง ๆ ได้อย่างประหยัดและทันเวลา มีอายุการใช้งานที่เหมาะสม และใช้ประโยชน์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีระบบฐานข้อมูลพัสดุที่สมบูรณ์ สามารถใช้ประโยชน์จากข้อมูลที่จัดเก็บได้อย่างเป็นปัจจุบันและถูกต้องเชื่อถือได้ วัตถุประสงค์ระดับองค์กร เพื่อปรับปรุงพัฒนา มาตรฐานฝีมือแรงงานเพื่อตอบสนองความต้องการของภาคธุรกิจ อุตสาหกรรม

วัตถุประสงค์(ช่อง1) และ การควบคุมที่มีอยู่ (ช่อง2) ประเมินว่าเพียงพอและมีประสิทธิผลหรือไม่ ? งานทะเบียนพัสดุ การควบคุมที่มีอยู่ วัตถุประสงค์ มีระบบฐานข้อมูลพัสดุที่สมบูรณ์ สามารถใช้ประโยชน์จากข้อมูลที่จัดเก็บได้อย่างเป็นปัจจุบันและครบถ้วนถูกต้อง มอบหมายงานให้เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูลเป็นผู้นำเข้าข้อมูล กำหนดไว้ในคู่มือฯ ให้บันทึกรายการเคลื่อนไหวของแต่ละวันในวันทำการถัดไป

การควบคุมที่มีอยู่แล้วและความเสี่ยงที่ยังมีอยู่ เจ้าหน้าที่ไม่สามารถ บันทึกข้อมูลได้ทั้งหมด เนื่องจาก ปริมาณเอกสารนำเข้า มีจำ จำนวนมากเพิ่มขึ้นกว่าแต่ก่อน การควบคุมที่มีอยู่แล้วและความเสี่ยงที่ยังมีอยู่ ความเสี่ยงที่ยังมีอยู่ การควบคุมที่มีอยู่ มอบหมายงานให้เจ้าหน้าที่ บันทึกข้อมูลเป็นผู้นำเข้าข้อมูล กำหนดไว้ในคู่มือฯ ให้บันทึก รายการเคลื่อนไหวของแต่ละวัน ในวันทำการถัดไป

ความเสี่ยงที่ยังมีอยู่ และการปรับปรุงการควบคุม เจ้าหน้าที่ไม่สามารถบันทึกข้อมูลได้ทั้งหมด เนื่องจากปริมาณเอกสารนำเข้ามีจำนวนมากเพิ่มขึ้นกว่าแต่ก่อน การปรับปรุงการควบคุม (ช่อง 8) จัดสรรเวลาให้เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูลภายในวันทำการเดียวกับที่ได้รับเอกสารโดยจัดเป็นระบบ Batch เอกสารส่วนที่เป็นการขอเบิกพัสดุให้ผู้เบิกบันทึกเข้าในแผ่นบันทึกข้อมูลโดยตรงและส่งแผ่นมาให้งานทะเบียน Upload ขึ้นระบบฯ

แผนการปรับปรุงระดับส่วนงานย่อย แบบ ปย. 2 ความเสี่ยงที่ยังมีอยู่:เจ้าหน้าที่ไม่สามารถบันทึกข้อมูลได้ทั้งหมด เนื่องจากปริมาณเอกสารนำเข้ามีจำนวนมากเพิ่มขึ้นกว่าแต่ก่อน งวด/เวลาที่พบจุดอ่อน การปรับปรุง กำหนดเสร็จ/ ผู้รับผิดชอบ 30 ก.ย. 53 จัดสรรเวลาให้เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูลภายในวันทำการเดียวกับที่ได้รับเอกสารโดยจัดเป็นระบบ Batch 1 ธ.ค. 53/ผู้อำนวยการสำนักบริหารพัสดุ