การบริหารความเสี่ยง ประเภทความเสี่ยง ความเสี่ยง (RISK)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

ศาสตราจารย์ ดร.สมบัติ ธำรงธัญวงศ์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
บทที่ ๑ ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการวิเคราะห์ และออกแบบระบบสารสนเทศ (Introduction to Information System Analysis) 22/7/03 บทที่
ความสำคัญของการบริหารการเงิน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุชิน ปลีหะจินดา
สรุปผลการทบทวนความเสี่ยง องค์การจัดการน้ำเสีย ประจำปี 2551
หลักการวางแผนประชาสัมพันธ์
การจัดทำรายงานการควบคุมภายใน ตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน
หัวหน้ากลุ่มยุทธศาสตร์ และพัฒนาองค์กร
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
อาจารย์มณทิพา ทับทิมอ่อน
การวางแผนกลยุทธ์.
บทที่ 2 องค์การและการจัดการ.
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
Risk Assessment Lectured by Dr. Siriluck Sutthachai
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
BA 925 การบริหารกลยุทธ์ ภาคฤดูร้อน ปีการศึกษา 2551
ฝ่ายวางแผนและพัฒนาระบบงาน กองแผนงาน 15 กุมภาพันธ์ 2553
ขั้นตอนที่ 4 การวิเคราะห์ความเสี่ยง สภาพแวดล้อมภายในและภายนอก
สภาพแวดล้อมปัจจุบัน โลกยุคโลกาภิวัตน์ สังคม เศรษฐกิจ
ได้กล่าวว่า ในระดับบุคคลข่าวสารที่ ได้จากระบบ ช่วยทั้งในแง่ ส่วนตัวและวิชาชีพ ในระดับองค์การ การจะมีส่วนช่วยองค์การให้มี ประสิทธิภาพจะมีผลกระทบต่อกล ยุทธ์และความสำเร็จขององค์การ.
การจัดการตลาด ความหมายการจัดการตลาด กระบวนการการจัดการตลาด
การบริหารความเสี่ยง ของสหกรณ์
การบริหารจัดการความเสี่ยงของสหกรณ์
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
บทที่ 3 การวางแผน การบริหารจัดการที่จะประสบความสำเร็จจะต้องมีหน้าที่สำคัญ 4 ประการ การจัดองค์การ การนำ การควบคุม.
KM เรื่อง “การบริหารความเสี่ยง” ส่วนบริหารการจัดเก็บภาษี
นโยบายองค์การ Organisation Policy.
ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
เครื่องมือและเทคนิคการทำงานแบบมีส่วนร่วมของชุมชน
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
โครงสร้างและวัฒนธรรมองค์การ (Organizational Structure and Culture)
ผลการดำเนินงานองค์กร (Performance Measurement)
การตรวจราชการ กับการบริหารความเสี่ยง
การบริหารจัดการทุนหมุนเวียน กลุ่มงานพัฒนาเงินนอกงบประมาณ
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด2 9คำถาม.
การบัญชีเพื่อการจัดการ (Managerial Accounting) BY MANATSADA
การบริหารความเสี่ยง (Risk Management)
บทที่ 3 Planning.
หน่วยที่ 7 หลักการจัดการ.
การบริหารความเสี่ยง กับการดำเนินงานห้องสมุด
Self Assessment Self Assessment คือการประเมินตนเอง คือวิธีการที่จะทำให้องค์กรได้ทราบถึงสมรรถนะ จุดอ่อน จุดแข็งของตนเอง สามารถนำไปใช้ในการวางแผน ปรับปรุงองค์กรให้มีประสิทธิภาพ.
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
บทนำการบริหารโครงสร้างพื้นฐานเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความเสี่ยง ความเสี่ยง หมายถึง โอกาสที่จะเกิดความผิดพลาด ความเสียหาย การรั่วไหล ความสูญเปล่า หรือเหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ ที่ทำให้งานไม่ประสบผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่กำหนดไว้
ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงาน (Operational Risk)
มาตรฐานการควบคุมภายใน
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
การบริหารและกระบวนการวางแผน
การตรวจสอบ และการควบคุมภายใน
แบบฟอร์ม - ERM I ดร.ทองม้วน นาเสงี่ยม ผู้เชี่ยวชาญ และที่ปรึกษา
การจัดทำแผนธุรกิจ.
โครงการ/กิจกรรม/กระบวนการ การจัดการแผนกลยุทธ์
หมวด 6 การจัดการกระบวนการ Process Management
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
การบริหารและลดความเสี่ยงด้านการเงิน
มีอำนาจหน้าที่ตามกฎกระทรวง
บทบาทของผู้ตรวจสอบภายใน
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
1 I K R S การประชุม เรื่อง “ การบริหารความเสี่ยงและ การวางระบบการควบคุมภายใน ” วันพุธที่ 1 กันยายน 2547 โดย ผู้ช่วยอธิการบดี ( ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประเสริฐ.
บทบาทของข้อมูลการตลาด
Change Management.
การประเมินโครงการ (Project Evaluation)
การวางแผนและการจัดการเชิงกลยุทธ์ (Planning & Strategic Management)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การบริหารความเสี่ยง ประเภทความเสี่ยง ความเสี่ยง (RISK) ความหมาย : เหตุการณ์/การกระทำใดๆ ที่อาจเกิดขึ้นภายใต้สถานการณ์ที่ไม่แน่นอน และส่งผลกระทบ หรือสร้างความเสียหายหรือความล้มเหลว หรือลดโอกาสที่จะบรรลุวัตถุประสงค์ทั้งในระดับองค์กร ระดับหน่วยงาน และระดับบุคคลได้ 1. ด้านกลยุทธ์ (Strategic Risk : S) กลยุทธ์ การเมือง เศรษฐกิจ สถานการณ์โลก สังคม ชื่อเสียง ภาวะผู้นำ ตลาด ตราสินค้า ลูกค้า การแข่งขัน 2. ด้านการดำเนินงาน (Operation Risk : O) ระบบขององค์การ กระบวนการทำงาน เทคโนโลยี บุคลากร ข้อมูลข่าวสาร การบริหารความเสี่ยงขององค์การ (Enterprise Risk Management) กระบวนการดำเนินงานขององค์กรที่เป็นระบบ และต่อเนื่อง เพื่อช่วยให้องค์กรลดความสูญเสียที่อาจเกิดขึ้นจากความเสี่ยงต่างๆให้เหลือน้อยที่สุด หรืออยู่ในระดับที่องค์การยอมรับได้ และเพิ่มโอกาสให้แก่ธุรกิจมากที่สุด ตลอดจนเป็นองค์ประกอบสำคัญในการกำกับดูแลกิจการที่ดี ที่จะช่วยให้องค์การบรรลุวัตถุประสงค์/เป้าหมายที่กำหนดไว้ 4. ด้านการปฏิบัติตามกฎหมาย/กฎระเบียบ (Compliance Risk :C) กฎระเบียบ กฎหมาย ระเบียบข้อบังคับ ข้อกำหนดของทางการ 3. ด้านการเงิน (Financial Risk : F) อัตราดอกเบี้ย อัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา สภาพคล่อง งบประมาณ ความสามารถในการชำระหนี้ ความน่าเชื่อถือทางการเงิน ขั้นตอนการบริหารความเสี่ยง การกำหนดวัตถุประสงค์:กำหนดขอบเขตการดำเนินงานขององค์การ เพื่อให้การวิเคราะห์ความเสี่ยงได้ครบถ้วน การระบุความเสี่ยง:ค้นหาความเสี่ยงในแต่ละด้าน การวิเคราะห์และประเมินความเสี่ยง:วิเคราะห์โอกาสที่จะเกิดความเสี่ยงและผลกระทบของความเสี่ยง และจัดระดับความเสี่ยง การจัดการความเสี่ยง:กำหนดแนวทางการดำเนินงานเพื่อป้องกัน ลดหรือควบคุมความเสี่ยงให้อยู่ในระดับที่องค์กรสามารถยอมรับได้ การติดตาม ประเมินผลและรายงาน:ติดตามผลหลังดำเนินการตามแผนจัดการความเสี่ยงและประเมินผลการบริหารความเสี่ยง

ขั้นตอนการบริหารความเสี่ยง การกำหนดวัตถุประสงค์:กำหนดขอบเขตการดำเนินงานขององค์การ เพื่อให้การวิเคราะห์ความเสี่ยงได้ครบถ้วน การระบุความเสี่ยง:ค้นหาความเสี่ยงในแต่ละด้าน การวิเคราะห์และประเมินความเสี่ยง:วิเคราะห์โอกาสที่จะเกิดความเสี่ยงและผลกระทบของความเสี่ยง และจัดระดับความเสี่ยง การจัดการความเสี่ยง:กำหนดแนวทางการดำเนินงานเพื่อป้องกัน ลดหรือควบคุมความเสี่ยงให้อยู่ในระดับที่องค์กรสามารถยอมรับได้ การติดตาม ประเมินผลและรายงาน:ติดตามผลหลังดำเนินการตามแผนจัดการความเสี่ยงและประเมินผลการบริหารความเสี่ยง

ประโยชน์ของการบริหารความเสี่ยง ➄ ช่วยในการกำหนดกลยุทธ์องค์กร ➃ ช่วยในการติดตามผล ➂ ช่วยลดความเสี่ยงให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ ➁ ช่วยในการตัดสินใจ ของผู้บริหาร ➀ ช่วยชี้ให้เห็นถึงปัญหาขององค์กร 11

ปัจจัยแห่งความสำเร็จในการบริหารความเสี่ยง โครงสร้างการบริหารความเสี่ยง  หน่วยงาน/คณะทำงาน  บทบาทและความรับผิดชอบ  การเตรียมความพร้อม การสื่อสารที่มีประสิทธิผล การบริหารความเปลี่ยนแปลง องค์กร  การสนับสนุนจากผู้บริหาร นโยบาย/วัตถุประสงค์/กลยุทธ์ ขององค์กร  ความร่วมมือ ปัจจัยพื้นฐาน  กระบวนการบริหารความเสี่ยง  ระบบ  เครื่องมือ 12