เพื่อเสริมพลังปฏิรูปการเรียนรู้

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเรียนรู้ ในศตวรรษที่ ๒๑
Advertisements

มุ่งพัฒนาสู่การเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงในสถานศึกษา
ทำไมต้องอบรม ? การสร้างเครือข่ายสังคมแห่งการเรียนรู้(Social Network)
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
ความสำคัญของการจัดการนวัตกรรมและเทคโนโลยี
กรอบแนวทางการทำงาน Dummy Project
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่4-6 ชื่อแผน บ้านดินน่าอยู่
๑. เร่งปฏิรูปการเรียนรู้ทั้งระบบให้สัมพันธ์เชื่อมโยงกัน
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
แนวคิดการจัดการเรียนรู้ และมาตรฐาน งานการวัดและประเมินผล ในสถานศึกษา
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
บทที่ 1 เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา
ห้องเรียนแห่งการเปลี่ยนแปลง
แผนกลยุกต์การจัดการศึกษาเขตพื้นที่ การศึกษานครพนม เขต 1.
ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ข้าพระพุทธเจ้า รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
เป้าประสงค์ ยุทธศาสตร์ตามแผน มหาวิทยาลัยพายัพฉบับที่ 4 ปีการศึกษา เป้าประสงค์ ยุทธศาสตร์ตามแผน มหาวิทยาลัยพายัพฉบับที่ 4 ปีการศึกษา
ทิศทางการจัดการศึกษา โรงเรียนเจริญราษฏร์วิทยา
สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
ห้องเรียนแห่งการเปลี่ยนแปลง
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
เรียนรู้ จาก VDO ของ KMI
แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
ประชุมพิจารณา ร่างแผนปฏิบัติราชการประจำปี 2556
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม ค่านิยมในการทำงานราชการยุคใหม่
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
โครงสร้างและวัฒนธรรมองค์การ (Organizational Structure and Culture)
การวิจัยกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์....มสธ
โรงเรียนละ 2 เล่ม.
ประทีป วีระพัฒนนิรันดร์ มูลนิธิพลังนิเวศและชุมชน 18 สิงหาคม 2551 ณ ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ อ.บางไทร จ.พระนครศรีอยุธยา.
คน Man ผู้บริหาร บุคลากรของทุกระดับ.
การสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ปฏิบัติการย่อย (Mini-SLM)
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
การสร้างความเข้มแข็งของ ระบบสนับสนุนยุทธศาสตร์. ความจริงที่เป็นอยู่ ( มายาวนาน )
การส่งเสริมการเรียนรู้ ประวัติศาสตร์ชาติ สังคมศึกษา
การพัฒนาระบบการเรียนการสอน
มาตรฐานการวัด การประเมินและ การประกันคุณภาพภายใน
ขอต้อนรับทุก ท่าน WELCOME ! No 1. การบรรยายความรู้ มุมมองใหม่ กับการทำงานส่งเสริมเคหกิจ เกษตร วันพุธที่ ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๕๔ ระหว่างเวลา ๑๕. ๐๐ – ๑๖. ๐๐ น.
"ฉลาดวางแผน" (SMART Planning) ประทีป วีระพัฒนนิรันดร์
แนวทางดำเนินงานจัดการความรู้ในงานส่งเสริมการเกษตร ให้ประสบผลสำเร็จ
การลดต้นทุนการผลิตพืช ประทีป วีระพัฒนนิรันดร์ มูลนิธิพลังนิเวศและชุมชน
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
จะเริ่มอย่างไร ? จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบสุขภาพระดับอำเภอ อยู่ที่การกำหนดค่ากลางของความสำเร็จของโครงการสุขภาพระดับเขต เพื่อส่งมอบให้จังหวัดนำเข้าสู่กระบวนการ(1)
โรงเรียนอนุบาลควนขนุน
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
การยกระดับคุณภาพการศึกษา สู่การปฏิบัติ
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
กลไกโภชนาการสมวัย นโยบาย สื่อสารสาธารณะ HUB/ทีมภาค ชุมชน สื่อสาร
มีคุณธรรม นำวิชาการ สู่มาตรฐานสากล
การบริหารจัดการ Input Process Output Outcome (ปัจจัย) (กระบวนการ)
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
การบริหารงานวิชาการ : ในมิติของการประเมินผล
การดำเนินงาน กศน.ตำบลให้ประสบความสำเร็จ
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
จุดเน้น ด้านการบริหารจัดการ
CIPP Model : การประกันคุณภาพ
หน่วยที่ ๗ แนวโน้มสังคมไทย และแนวทางเลือก.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เพื่อเสริมพลังปฏิรูปการเรียนรู้ เคลื่อนใจ เคลื่อนความคิด เพื่อเสริมพลังปฏิรูปการเรียนรู้ ประทีป วีระพัฒนนิรันดร์ มูลนิธิพลังนิเวศและชุมชน 9 มิ.ย. 53

โลกเปลี่ยนแปลง 1. ข้อมูล ความรู้ ล้าสมัยเร็วมาก 2. วิธีการที่เคยได้ผลในอดีต ไม่จำเป็นว่าจะต้อง ได้ผลในปัจจุบัน 3. เทคโนโลยี - คอมพิวเตอร์จำได้มากกว่า และจำได้นานกว่ามนุษย์ - เครื่องจักรกลแข็งแรงกว่า ทำงานได้ดีกว่า มีวินัย เชื่อฟังมากกว่า เร็วกว่า ทนกว่า แม่นยำกว่ามนุษย์ - ราคาเครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องจักรกลถูกลง ประสิทธิภาพสูงขึ้น ขณะที่ค่าแรงสูงขึ้น - ICT, เทคโนโลยีชีวภาพ นาโนเทคโนโลยี ฯลฯ 4. ลูกค้า (ตลาด) “No more one size fits all” 5. คู่แข่ง “มีผู้ที่ทำสิ่งที่เราทำไม่ได้เสมอ”

จะไม่มีความก้าวหน้าเลย ถ้ายังทำสิ่งต่างๆ แบบเดิมอยู่ตลอดเวลา การปรับปรุงพัฒนา จึงไม่มีวันสิ้นสุด

ระดับการพัฒนา 3. การสร้างความเป็นอิสระ 2. การสร้างทางเลือก 1. การทำให้ดีขึ้น

ความสำเร็จ “ความลงตัวพอดี” ไม่มี “สูตรสำเร็จ” ในการสร้างความสำเร็จ ของ “เหตุปัจจัย” ที่เกี่ยวข้อง ซึ่งเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วตลอดเวลา ไม่มี “สูตรสำเร็จ” ในการสร้างความสำเร็จ

ความสามารถในการแข่งขัน Better – Cheaper – Faster (ดีกว่า – ถูกกว่า – เร็วกว่า) - Innovation is power. - Technology is power. - Knowledge is power. - Information is power. - Data is power. ปัจจุบัน CHANGE อดีต

องค์กรที่เจริญเติบโต อย่างรวดเร็วและมั่นคง ต้องบริหารจัดการให้เกิด “ความลงตัวพอดี” ตลอดเวลา ทุนมนุษย์ (Human Capital) เทคโนโลยี (Technology) นวัตกรรม (Innovation) ภาคีพันธมิตร (Partnership)

คนมี “คุณค่า” แต่ไม่เท่ากัน เพราะแต่ละคนมี ... ● ความเชื่อ วิธีคิด วิธีให้คุณค่า ● ข้อมูล ข่าวสาร ความรู้ ทักษะ ประสบการณ์ ● กรรม (ดี/ชั่ว) ● ฯลฯ ... แตกต่างกัน

การทำงาน ด้วย “หน้าที่”? ด้วย “ใจ”?

การบริหารจัดการ ตาม “สถานการณ์”? อย่างมี “เป้าหมาย”?

มืออาชีพ เป้าหมาย .. ชัดเจน ท้าทาย จินตนาการ .. กว้างไกลไร้ขอบเขต เป้าหมาย .. ชัดเจน ท้าทาย จินตนาการ .. กว้างไกลไร้ขอบเขต หลักคิด .. ถูกต้อง หลักวิชา .. เหมาะสม รู้จริงรู้รอบ หลักปฏิบัติ .. ง่ายๆ ประหยัดสุด ประโยชน์สูง

การพัฒนา “คน” ในภาพรวม “จุดคอขวด” การพัฒนา “คน” ในภาพรวม 1. คนทำไม่ได้คิด คนคิดไม่ได้ทำ ไม่สอดคล้องกับความต้องการ 2. ใช้วิธีสั่งให้ทำ สอนให้จำ บอกให้เชื่อ คิดไม่เป็น ทำไม่เป็น พึ่งตนเองไม่ได้ 3. ขาดเป้าหมายสุดท้ายร่วมกัน ขับเคลื่อนอย่างไร้ทิศทางและขาดพลัง 4. คิดแยกส่วน (เหตุเดียว ผลเดียว) ไม่ให้ความสำคัญกับผลกระทบที่ติดตามมา

วัฒนธรรมองค์กร 6. วัฒนธรรมองค์กร 5. วิถีชีวิต ระดับการเปลี่ยนแปลง 4. วิธีทำงาน ระดับการเปลี่ยนแปลง 3. วิธีให้คุณค่า 2. วิธีคิด กระบวนทัศน์ 1. ความเชื่อ ระยะเวลา

ไม่มีใครรู้ทุกเรื่อง และไม่มีใครไม่รู้อะไรเลย ทุกคนจึงเป็นครูของเราได้ ในสิ่งที่เขาทำเก่ง

ความเชื่อ 1. ทุกสรรพสิ่งล้วนเชื่อมโยงสัมพันธ์กันและเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา (มีนั่น เพราะมีนี่) 2. คนมีคุณค่า และต้องการทำความดี 3. คนมีศักยภาพที่แตกต่างหลากหลายและไร้ขีดจำกัด 4. ความรัก ความสามัคคี และความพร้อม-เพรียง เป็นปัจจัยสำคัญนำความสำเร็จ

? ปฏิรูปการเรียนรู้ เอา “ความรู้ในตำรา” มา “ต่อยอด” โดยเอา “ความรู้ในตัวคน” เป็น “ฐาน” เอา “ความรู้ในตำรา” มา “ต่อยอด” เพื่อมุ่งสู่ “การเรียนรู้เพื่อชีวิต”

โรงเรียนดีมีสุข? เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ อย่างสร้างสรรค์และมีเป้าหมาย โดยให้ความสำคัญกับการจัดการเรียนการสอน ที่บูรณาการหลักคิดและหลักวิชา กับกิจกรรมการเรียนรู้ ที่เชื่อมโยงวิถีชีวิตของผู้เรียน และสภาพปัญหาและสิ่งแวดล้อม ของชุมชนท้องถิ่น รวมทั้งสร้างจิตสาธารณะให้แก่ผู้เรียน

KSF? (ปัจจัยความสำเร็จ/Key Success Factor)

โรงเรียนขนาดเล็ก โจทย์? ทำอย่างไร? เด็กจึง “คิดเป็น” โครงการ ทำอย่างไร? เด็กใน ร.ร. ขนาดเล็กจึงคิดเป็น (สพท. เลย เขต ๑ & ๒ รวม ๑๒๐ โรง วันที่ ๑๕-๑๖ มี. ค. ๕๓)

สมมติฐาน ถ้าผลสัมฤทธิ์ วิทย์ & คณิต สูงขึ้น เด็กจะคิดเก่งขึ้น โครงการ ทำอย่างไร? เด็กใน ร.ร. ขนาดเล็กจึงคิดเป็น (สพท. เลย เขต ๑ & ๒ รวม ๑๒๐ โรง วันที่ ๑๕-๑๖ มี. ค. ๕๓)

KSF – ผลสัมฤทธิ์วิทย์ & คณิต ครูมีความรู้ 16% ครูมีเทคนิคการจัดการเรียนรู้ 17 ครูมีความรับผิดชอบ 14 กิจกรรมส่งเสริมทักษะวิชาการผู้เรียน (9%) สื่อและแหล่งเรียนรู้ 17 การระดมทรัพยากรจากภายนอก (3%) การติดตามประเมินผลผู้เรียน 12 บรรยากาศการจัดการเรียนรู้ (8%) การนิเทศติดตามกำกับแบบมีส่วนร่วม (4%) โครงการ ทำอย่างไร? เด็กใน ร.ร. ขนาดเล็กจึงคิดเป็น (สพท. เลย เขต ๑ & ๒ รวม ๑๒๐ โรง วันที่ ๑๕-๑๖ มี. ค. ๕๓)

ผู้ปกครองดู ร.ร. ดี/ไม่ดีที่ไหน? รุ่นที่ 1 2 3 4 เฉลี่ย ผู้บริหาร? 14 15 16 9 14 % ครู? 20 21 19 17 19 นักเรียนดี? 16 16 16 21 17 นักเรียนเก่ง (ผลสัมฤทธิ์)? 13 15 16 21 16 อาคาร สถานที่ 17 19 19 16 18 สภาพแวดล้อม? ความร่วมมือของชุมชน? 10 9 9 9 9 อุปกรณ์การเรียนการสอน? 10 5 5 7 7 โครงการพัฒนาผู้นำการเปลี่ยนแปลง รุ่นที่ ๑ (๒๕ ม.ค. ๕๓) รุ่นที่ ๒ (๘ ก.พ. ๕๓) รุ่นที่ ๓ (๑๕-๑๘ ก.พ. ๕๓) และรุ่นที่ ๔ (๒๒-๒๓ ก.พ. ๕๓)

KSF ของ ร.ร. ดีขนาดเล็ก รุ่นที่ 1 2 3 4 เฉลี่ย รุ่นที่ 1 2 3 4 เฉลี่ย คุณภาพผู้บริหาร 17 16 18 14 16% คุณภาพครู & บุคลากร 22 20 22 23 22 การมีส่วนร่วม (ภาคีพันธมิตร)17 13 15 14 15 สื่อการเรียนการสอน 9 9 9 9 9 วัสดุอุปกรณ์การเรียนการสอน 7 8 8 12 9 สภาพแวดล้อม 7 9 9 11 9 ระบบการบริหารจัดการ 9 11 8 9 9 คณะกรรมการสถานศึกษา 1 1 1 1 1 งบประมาณ 11 13 11 7 10 โครงการพัฒนาผู้นำการเปลี่ยนแปลง รุ่นที่ ๑ (๒๕ ม.ค. ๕๓) รุ่นที่ ๒ (๘ ก.พ. ๕๓) รุ่นที่ ๓ (๑๕-๑๘ ก.พ. ๕๓) และรุ่นที่ ๔ (๒๒-๒๓ ก.พ. ๕๓)

KSF – Learning Organization (L.O.) 1. การบริหารจัดการ 20% (งานวิชาการ บุคคล ระบบข้อมูล การรับและการดูแลนักเรียน การติดตามประเมินผล ฯลฯ) 2. คุณภาพผู้บริหาร 19 3. คุณภาพครู & บุคลากร 19 4. การมีส่วนร่วม 16 (ทีมงาน ผู้ปกครอง ชุมชน อปท. เครือข่าย หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ฯลฯ) 5. เทคโนโลยี 10 (การบริหารจัดการ การจัดการเรียนการสอน ฯลฯ) 6. สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ 8 (แหล่งเรียนรู้ ห้องสมุด หนังสือ อุปกรณ์ สื่อ กิจกรรมการเรียนรู้ ฯลฯ) 7. สภาพแวดล้อมของสถานศึกษา 6 (สภาพภูมิทัศน์ ความร่มรื่น สภาพห้องเรียน โรงอาหาร ห้องสุขา ฯลฯ) 8. การวิจัยและพัฒนา 2 ข้อมูล : โครงการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนเอกชนสู่มาตรฐาน (กิจกรรมที่ 1) โรงแรมเอเซีย แอร์พอร์ท ณ ๑๕ พ.ค. ๕๓)

L.O. SI? (ประเด็นยุทธศาสตร์/Strategic Issue) SI คือ KSF ที่สถานศึกษายังไม่มี หรือต้องปรับปรุงพัฒนาให้ดีขึ้น L.O. เป้าหมาย หมายเหตุ KSF (Key Success Factor) = ปัจจัยความสำเร็จ SI (Strategic Issue) = ประเด็นยุทธศาสตร์

KPI? : วัดที่ผู้เรียน การจัดการศึกษาและการเรียนรู้ 1. สนุก 2. ได้เพื่อน 3. ได้ทดลองทำจริง 4. ได้ความรู้ใหม่ 5. ได้กิน ได้ใช้ 6. ได้แจก ได้แลกเปลี่ยน 7. ได้ขาย ได้เงิน 16

โรงเรียนขนาดเล็ก KPI? : นักเรียนดีมีสุข นักเรียน... 1. กินอิ่ม 2. อยากมาโรงเรียน 3. ได้ทำความดี 17