การส่งเสริมและป้องกัน ปัญหานักเรียน เครื่องมือ,บันทึก การส่งเสริมและป้องกัน ปัญหานักเรียน (กิจกรรมโฮมรูม) ดร.ปรเมษฐ์ โมลี
HOME ROOM เป็นกิจกรรมที่ครูที่ปรึกษาและนักเรียนสร้างสายสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน และครูจะได้ใช้ความสัมพันธ์นั้นปูทางไปสู่การเสริมสร้างทักษะการดำรงชีวิตให้กับนักเรียนเพื่อเป็นการปรับตัวต่อสิ่งแวดล้อม ดร.ปรเมษฐ์ โมลี
วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ครูที่ปรึกษารู้จักและคุ้นเคยกับนักเรียนเป็นรายบุคคล 2. เพื่อให้ครูที่ปรึกษาสามารถส่งเสริมและพัฒนาความสามารถของ นักเรียนเป็นรายบุคคล 3. เพื่อให้ครูที่ปรึกษาจัดกิจกรรมกลุ่มในการป้องกันแก้ไขและ พัฒนานักเรียน 4. เพื่อเสริมสร้างทักษะชีวิต และทักษะทางสังคมให้กับนักเรียน ดร.ปรเมษฐ์ โมลี
วิธีดำเนินการ 1. กำหนดหัวข้อในการจัดกิจกรรมโอมรูม - ครูที่ปรึกษากำหนดให้เหมาะสมกับสภาพของนักเรียน - ระดับชั้นกำหนด - สำรวจความต้องการของนักเรียน 2. กำหนดวัตถุประสงค์ 3. กำหนดกิจกรรม 4. ดำเนินการจัดกิจกรรม 5. บันทึกลงในสมุดบันทึกโฮมรูม ดร.ปรเมษฐ์ โมลี
ตัวอย่างหัวข้อกิจกรรมโฮมรูม ฉันคือใคร เป้าหมายชีวิตของฉัน สิ่งที่ฉันภาคภูมิใจ ครอบครัวของฉัน อาชีพที่ฉันใฝ่ฝัน ครั้งหนึ่งในชีวิต เพื่อนที่รู้ใจ โล่ชีวิต ตราประจำตัวฯลฯ *ใจเขาใจเรา * การอยู่ร่วมกันกับผู้อื่น * มารยาทที่มีเสน่ห์ * คุณลักษณะที่พึงประสงค์ * เพื่อนช่วยเพื่อน * เรียนรู้ชีวิต พิษภัยสังคม * ห้องเรียนน่าอยู่ * โรงเรียนของเรา * ชุมชนของเรา ฯลฯ ดร.ปรเมษฐ์ โมลี
ตัวอย่างหัวข้อกิจกรรมโฮมรูม - อ่านทุกวันสร้างสรรค์ปัญญา การตัดสินใจและแก้ไข ปัญหา - สื่อสารดีมีคุณ - การจัดการความเครียด - รักและเห็นคุณค่าในตนเอง - พลังชีวิต - การสร้างแรงจูงใจ การควบคุมอารมณ์ ตนเอง - ทักษะการปฏิเสธ - เอดส์มหันตภัยใกล้ตัว - วัยรุ่น วัยใส - สิทธิเด็ก - การเตรียมตัวสอบ - การสอบสัมภาษณ์ - อาชีพอิสระ - แนวทางสู่อนาคต ฯลฯ ดร.ปรเมษฐ์ โมลี
ปัจจัยที่มีผล ต่อการออกแบบกิจกรรม ดร.ปรเมษฐ์ โมลี
1 ปัญหาและความต้องการของนักเรียน โดยการสำรวจ สังเกต และประเมินผล โดยการสำรวจ สังเกต และประเมินผลการจัดกิจกรรม ปัญหาและความต้องการของนักเรียน โดยการสำรวจ สังเกต และประเมินผล การจัดกิจกรรม ดร.ปรเมษฐ์ โมลี
2 กิจกรรมต่าง ๆ ในการดูแลช่วยเหลือนักเรียน เช่น การจัดทำระเบียนสะสม และ SDQ การสัมภาษณ์ การเยี่ยมบ้าน การให้คำปรึกษา กิจกรรมในการแก้ปัญหา ปัญหาและความต้องการของนักเรียน โดยการสำรวจ สังเกต และประเมินผลการจัดกิจกรรม ดร.ปรเมษฐ์ โมลี
3 เครื่องมือในการจัดกิจกรรมโฮมรูม การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมPL กระบวนการกลุ่ม ปัญหาและความต้องการของนักเรียน โดยการสำรวจ สังเกต และประเมินผลการจัดกิจกรรม ดร.ปรเมษฐ์ โมลี
PL participatory Learning การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม ประสบการณ์ สะท้อน,อภิปราย ประยุกต์ ความคิดรวบยอด ดร.ปรเมษฐ์ โมลี
กลุ่ม 3 คน กำหนดเป็นผู้พูด,ผู้ฟัง และผู้สังเกตการณ์ กระบวนการกลุ่ม จับคู่ กลุ่ม 3 คน กำหนดเป็นผู้พูด,ผู้ฟัง และผู้สังเกตการณ์ กลุ่ม 4 คน ดร.ปรเมษฐ์ โมลี
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม Participatory Learning ยึดสมาชิกเป็นศูนย์กลาง การเรียนรู้เชิงประสบการณ์ เป็นการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ ดร.ปรเมษฐ์ โมลี
ความต้องการของวัยรุ่น การยอมรับ ชื่นชม แสดงความสามารถ ปลดปล่อยความคิดอย่างอิสระ ต้องการสนับสนุนให้เกิดความเชื่อมั่น ดร.ปรเมษฐ์ โมลี
สอนอย่างไรให้ได้ใจวัยรุ่น สนุกในการเรียนรู้ เร้าให้เกิดความเชื่อมั่นและเกิดความภาคภูมิใจ เปิดโอกาสให้ซักถาม ให้ความสนใจและยอมรับ ไม่เน้นคาดหวังหรือแข่งขัน ให้เกิดความรู้สึกว่าเรียนรู้ไม่ยากอย่างที่คิด ให้กำลังใจเป็นระยะ ๆ ดร.ปรเมษฐ์ โมลี
สังเกตวัยรุ่นเป็นทุนการสอน ใจลอย ขาดสมาธิ อยากได้รับความสนใจ โกรธง่าย หงุดหงิด พฤติกรรมเปลี่ยนไป ซึมเศร้า เก็บตัว ดร.ปรเมษฐ์ โมลี
หลุมพลางที่ควรระวัง เปรียบเทียบศิษย์ คาดหวัง เคี่ยวเข็ญ ประชด ตักเตือน ติเตียน สั่งสอน ตีตรา ตัดสิน ปรามาส สอบสวน ซักไซ้ ดร.ปรเมษฐ์ โมลี
หัวใจในการถ่ายทอดการเรียนรู้ ส่งเสริมให้เด็กเรียนรู้อย่างมีความสุข สร้างให้เกิดความภาคภูมิใจในตนเอง สรรค์สร้างกำลังใจ ให้อิสระทางความคิด และจินตนาการ ดร.ปรเมษฐ์ โมลี
คู่มือจัดกิจกรรมโฮมรูม แบบบันทึกผลการจัด กิจกรรม เอกสารที่เกี่ยวข้อง คู่มือจัดกิจกรรมโฮมรูม แบบบันทึกผลการจัด กิจกรรม แบบสำรวจความต้องการโฮมรูมและแบบประเมิน กิจกรรมโฮมรูม ดร.ปรเมษฐ์ โมลี
การประเมินผลการจัดกิจกรรมโฮมรูม ดร.ปรเมษฐ์ โมลี