ก้าวไกลสู่มาตรฐานวิชาชีพ การนิเทศแนวใหม่ ก้าวไกลสู่มาตรฐานวิชาชีพ มินตรา เกษศิลป์
ตามสมรรถนะและการจัดทำ ID - Plan วิเคราะห์ตนเองและจัดทำ วัตถุประสงค์ ทบทวนการพัฒนาตนเอง ตามสมรรถนะและการจัดทำ ID - Plan วิเคราะห์ตนเองและจัดทำ
แผนพัฒนาตนเองรายบุคคล ชิ้นงาน แผนพัฒนาตนเองรายบุคคล (ID – Plan)
Competency องค์ความรู้ และทักษะต่างๆ แรงจูงใจ อุปนิสัย ภาพลักษณ์ภายใน และบทบาท ที่แสดงออก ต่อ สังคม
ต้องมีการประเมินสมรรถนะ ทำไม . . . ต้องมีการประเมินสมรรถนะ
สมรรถนะ . . . ที่ใช้ในการประเมิน
สมรรถนะหลัก 1. การมุ่งผลสัมฤทธิ์ 2. การบริการที่ดี 3. การพัฒนาตนเอง 4. การทำงานเป็นทีม
สมรรถนะประจำสายงาน 1. การวิเคราะห์ สังเคราะห์ และการวิจัย 2. การสื่อสารและการจูงใจ 3. การพัฒนาศักยภาพบุคคล 4. การมีวิสัยทัศน์
วินัย คุณธรรม จริยธรรมและ จรรยาบรรณวิชาชีพ 1. การมีวินัย 2. การประพฤติ ปฏิบัติตน เป็นแบบอย่างที่ดี 3. การดำรงชีวิตอย่างเหมาะสม
วินัย คุณธรรม จริยธรรมและ จรรยาบรรณวิชาชีพ 4. ความรัก และศรัทธา ในวิชาชีพ 5. ความรับผิดชอบ ในวิชาชีพ
ก่อนการทำ ID Plan 1. ประเมินตนเอง เพื่อนประเมิน และ ผู้บังคับบัญชา ประเมิน
ก่อนการทำ ID Plan 2. ประเมินตนเอง แบบ C&T คือ ประเมินสภาพปัจจุบัน ของตนเอง Current และ เป้าหมาย ในการ พัฒนาตนเอง Target
หลักเกณฑ์การลงสรุป กรณีที่ 1 ♣ ผู้ประเมิน 2 คน มีความเห็น ♣ ผู้ประเมิน 2 คน มีความเห็น ไม่สอดคล้องกัน ได้แก่ คนใดคนหนึ่งให้ 2 อีกคนหนึ่งให้ 4
หลักเกณฑ์การลงสรุป กรณีที่ 1 ♣ ต้องให้ผู้ประเมินทั้ง 2 คน คุยกัน เพื่อลงสรุป
หลักเกณฑ์การลงสรุป หรือ ♣ นำไปเปรียบเทียบกับตนเอง ถ้าความเห็นของคนใด กรณีที่ 1 หรือ ♣ นำไปเปรียบเทียบกับตนเอง ถ้าความเห็นของคนใด สอดคล้อง หรือใกล้เคียง
หลักเกณฑ์การลงสรุป ♣ ให้ใช้ระดับคุณภาพ ของคนนั้น ♣ เป็นข้อสรุป กรณีที่ 1 ♣ ให้ใช้ระดับคุณภาพ ของคนนั้น ♣ เป็นข้อสรุป
หลักเกณฑ์การลงสรุป กรณีที่ 2 ♣ ผู้ประเมิน 2 คน มีความเห็นสอดคล้องกัน หรือใกล้เคียงกัน เช่น 2 กับ 3 หรือ 3 กับ 4
หลักเกณฑ์การลงสรุป กรณีที่ 2 ♣ ให้หาค่าเฉลี่ยของระดับ คุณภาพ ที่ทั้ง 2 คนให้ เพื่อลงสรุป
หลักเกณฑ์การลงสรุป กรณีที่ 2 ♣ ผู้ประเมิน 2 คน มีความเห็นเหมือนกัน ♣ ให้ใช้ผลการประเมิน ของคนใดคนหนึ่งได้เลย
หลักเกณฑ์การลงสรุป กรณีที่ 3 ♣ ถ้าผู้ประเมินคนใดคนหนึ่ง ประเมินว่า “ม” ประเมินว่า “ม” ♣ ให้ถือผลการประเมิน ของผู้ประเมิน อีกคนหนึ่ง ได้เลย
หลักเกณฑ์การลงสรุป กรณีที่ 3 ♣ ในกรณีที่ผู้ประเมิน 2 คน ประเมินว่า“ม” ♣ ให้จัดหาผู้ประเมินคนใหม่มา หรือใช้ผลการประเมินตนเอง เป็นข้อสรุป ♣
ตาราง 1 ผลการประเมินสมรรถนะ ที่จำเป็นต้องพัฒนา ตาราง 1 ผลการประเมินสมรรถนะ ที่จำเป็นต้องพัฒนา รายการ ตน เอง ผู้บังคับบัญชา + เพื่อน คนที่ 1 คนที่ 2 สรุป การมุ่งผลสัมฤทธิ์ 1.1 ความสามารถในการวาง แผนการปฏิบัติงาน 1) ความรู้ในการวางแผน 2) การวางแผน 1.2 ความสามารถในการ ปฏิบัติงาน
ตาราง 2 ผลสรุปการประเมินสมรรถนะ ระดับ คุณภาพ สรุปผล ตน เอง ผู้บังคับ บัญชา จำเป็น ต้อง พัฒนา ไม่ จำเป็น การมุ่งผลสัมฤทธิ์ 1.1 ความสามารถในการ วางแผนการปฏิบัติงาน 1.2 ความสามารถในการ ปฏิบัติงาน 2
หลักการวิเคราะห์สมรรถนะ สมรรถนะที่จำเป็นต้องพัฒนา สมรรถนะ ที่มีผลการประเมิน ของผู้ประเมินฝ่ายใด ฝ่ายหนึ่ง หรือทั้ง 2 ฝ่าย อยู่ในระดับคุณภาพ 1
หลักการวิเคราะห์สมรรถนะ สมรรถนะที่จำเป็นต้องพัฒนา 2. สมรรถนะ ที่มีผลการประเมิน ของผู้ประเมิน ทั้ง 2 ฝ่าย อยู่ในระดับคุณภาพ 2
หลักการวิเคราะห์สมรรถนะ สมรรถนะที่ไม่จำเป็นต้องพัฒนา สมรรถนะ ที่มีผลการประเมิน ของผู้ประเมินฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง อยู่ในระดับคุณภาพ ตั้งแต่ 3 ขึ้นไป
หลักการวิเคราะห์สมรรถนะ สมรรถนะที่ไม่จำเป็นต้องพัฒนา และอีกฝ่ายหนึ่งอยู่ในระดับ คุณภาพ ตั้งแต่ 2 ขึ้นไป
แผนพัฒนาตนเอง(ID-Plan) แผนที่บุคคลได้กำหนดขึ้นเป็นแนวทาง ในการเสริมสร้าง หรือเพิ่มพูนสมรรถนะ คุณลักษณะ ที่จำเป็นในการปฏิบัติงาน ให้มีประสิทธิภาพ มุ่งสู่คุณภาพระดับสูง และบรรลุเป้าหมายวิชาชีพของตน ส่วนที่ 1 ข้อมูลส่วนบุคคล
ความสำคัญของ แผนพัฒนาตนเอง แผน เป็นการคาดการณ์ ล่วงหน้า ถึง อนาคต ต่อวัตถุประสงค์ ที่ต้องการ โดยมีกิจกรรมต่างๆ อย่างหลากหลาย
ความสำคัญของ แผนพัฒนาตนเอง เพื่อแสดงให้รู้ว่า ใครเป็นผู้ทำ ทำอะไร ทำที่ไหน ทำเมื่อไร ทำไมต้องทำ และทำอย่างไร
ความสำคัญของ แผนพัฒนาตนเอง ใช้งบประมาณเท่าไร จึงจะบรรลุผลตามที่ต้องการ
นั่นคือ จำง่าย ๆ ว่าแผนพัฒนาตนเอง มีไว้เพื่อตอบคำถาม 5W+ 2H นั่นคือ จำง่าย ๆ ว่าแผนพัฒนาตนเอง มีไว้เพื่อตอบคำถาม 5W+ 2H 5W WHO WHAT WHERE WHEN WHY 2H HOW How Much
กิจกรรม ศึกษาสมรรถนะหลัก และสมรรถนะประจำสายงาน วิเคราะห์สมรรถนะการปฏิบัติงานของตนเอง จัดทำแผนพัฒนาตนเองเป็นรายบุคคล (น.154) คัดเลือกแผนพัฒนาตนเองรายบุคคล นำเสนอกลุ่มละ 1 แผน
สวัสดีค่ะ