ถอดรหัส Nanoka : ภาวะผู้นำและการประเมินแนวใหม่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
มุ่งพัฒนาสู่การเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงในสถานศึกษา
Advertisements

Knowledge Management (KM)
การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ครั้งที่ 1 (Care & Share Meeting No
ความหมายของสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้
ความคิดสร้างสรรค์ (Creavity) และ ความรู้ (Knowledge)
ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
สามารถ ศรีวิริยาภรณ์ ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ที่ 7
การจัดการความรู้สู่การเป็น องค์กรแห่งการเรียนรู้
บทที่ 3 ระดับของสารสนเทศ.
ความสำคัญและการนำสู่การปฏิบัติ
แผนกลยุกต์การจัดการศึกษาเขตพื้นที่ การศึกษานครพนม เขต 1.
กระทำหน้าที่ตามเป้าหมายขององค์กรอย่างสมบูรณ์
การสร้างสื่อประสมบทเรียนช่วยสอน Multimedia ผ่าน Internet
มีหน้าที่เชื่อมโยงผู้คน/หน่วยงานเข้าหากัน
(Knowledge Management : A Tool for Strategic Success)
Knowledge Management (KM)
การจัดการความรู้เพื่อยกระดับมาตรฐานในการปฏิบัติงาน
การจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM)
กรอบแนวคิด การพัฒนากองบริการการศึกษา.
การศึกษาการจัดการความรู้ของบริษัท ดั๊บเบิ้ล เอ จำกัด (มหาชน)
การจัดการศึกษาในชุมชน
( Theory of Multiple Intelligences ) Gardner (การ์ดเนอร์)
การสร้างทีมงานและเครือข่าย การประสานงานเพื่อปฏิบัติงาน
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
ประเด็นยุทธศาสตร์ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ดื่มน้ำสะอาด
โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน (รนสช.)
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม ค่านิยมในการทำงานราชการยุคใหม่
บทเรียนการเป็นผู้นำนวัตกรรมเทคโนโลยีที่พ่ายแพ้
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
การเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ และผู้นำทางวิชาการ
หัวข้อวิชา การเพิ่มศักยภาพในการเป็นผู้นำ และการนำเสนอข้อมูล
Communities of Practice (CoP)
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ
การจัดการความรู้ มหาวิทยาลัยรังสิต
สรุปประเด็นการประชุมสัมมนากลุ่มย่อย
เครื่องมือสำหรับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ Gotoknow.org
การก้าวสู่องค์กรแห่ง การเรียนรู้. * กระแสการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นมันรวดเร็วและรุนแรง ก็ด้วยปัจจัยที่ เกิดจากการก้าวกระโดดของเทคโนโลยีสาร สนเทศ ส่งผลให้เวทีการ.
คน Man ผู้บริหาร บุคลากรของทุกระดับ.
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
(District Health System)
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
วิทยาศาสตร์ในสังคมกับการจัดการความรู้
Participation : Road to Success
สารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ GHUM 1103
ประโยชน์ต่อส่วนราชการ
ขอต้อนรับทุก ท่าน WELCOME ! No 1. การบรรยายความรู้ มุมมองใหม่ กับการทำงานส่งเสริมเคหกิจ เกษตร วันพุธที่ ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๕๔ ระหว่างเวลา ๑๕. ๐๐ – ๑๖. ๐๐ น.
องค์ประกอบของการสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกัน
การเรียนรู้ของทีม Team Learning
แนวทางดำเนินงานจัดการความรู้ในงานส่งเสริมการเกษตร ให้ประสบผลสำเร็จ
วิชาวิศวกรรมความรู้ - การจัดการความรู้เพื่อพัฒนาองค์กร
การจัดการความรู้ ศูนย์นิติวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
โมเดลปลาทู “คุณเอื้อ” “คุณกิจ” “คุณอำนวย” CKO Knowledge Sharing (KS)
เทคนิคการจัดการความรู้ ทางอิเล็กทรอนิกส์
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
เทคนิคการจัดเวทีประชาคม
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
การวางแผนยุทธศาสตร์.
การแปลงนโยบายและแผน นำสู่การปฏิบัติ
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
ระบบบริหารจัดการองค์ความรู้ในองค์กร
วัฒนธรรมและค่านิยม ขององค์การอุตสาหกรรมป่าไม้
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
การพัฒนาตนเอง.
การถอดบทเรียน กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร.
ปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร์
การวิจัย เป็น  กระบวนการ แสวงหา ความรู้ หรือ ข้อเท็จจริงที่ถูกต้องของ ประเด็นปัญหาที่ต้องการ ศึกษา  เป็น ระบบ มีแบบแผนตาม แนวทางของ วิธีการทาง วิทยาศาสตร์
จุดเน้น ด้านการบริหารจัดการ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ถอดรหัส Nanoka : ภาวะผู้นำและการประเมินแนวใหม่ แจ่มจันทร์ เกียรติกุล

เป้าหมายการพัฒนาประสิทธิภาพขององค์กร ๔ ข้อ ตอบสนองตรงเป้าหมายขององค์กรและผู้รับบริการหรือกลุ่มเป้าหมาย(Responsiveness) มีนวัตกรรมเกิดขึ้นจากการทำงาน(Innovation) คนในองค์กรมีการพัฒนาและใช้ศักยภาพอย่างเต็มที่ (Competency) มีประสิทธิภาพ (Efficiency)

ศาสตราจารย์ อิคูจิโร โนนากะ เชื่อว่ามนุษย์คือผู้สร้างความรู้ ความสำเร็จเกิดขึ้นที่อีกมิติหนึ่งขององค์กรสมัยใหม่ด้วยการเพิ่มศักยภาพทุนมนุษย์ระดับปฏิบัติการ

ความรู้ที่เป็นประสบการณ์ที่อยู่กับตัวผู้ปฏิบัติงานจึงถือเป็น  "ทุนทางปัญญา (Intellectual Capital) เป็นปัจจัยที่สำคัญต่อความสำเร็จที่ยั่งยืนขององค์กรอย่างแท้จริงเนื่องจากทุนประเภทนี้เป็นปัจจัยที่คู่แข่งไม่สามารถลอกเลียนแบบ แนวคิดของ Prof. Nonaka เชื่อว่าการพัฒนาที่ดี ควรเป็นการพัฒนาแบบยั่งยืน และการสร้างนวัตกรรมทางสังคม (Social Innovation) หมายถึงคนในองค์กรทุกคน จำเป็นต้องมีวิสัยทัศน์ร่วมกัน และเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง

แหล่งเก็บความรู้ในองค์กร

คุณลักษณะความสามารถของผู้นำที่มีความรู้ เชิงปัญญาปฏิบัติ มี 6 คุณลักษณะ คือ 1. ความสามารถในการใช้วิจารณญาณว่าสิ่งใดดี สิ่งใดไม่ดี 2. ความสามารถในการแลกเปลี่ยนบริบทกับผู้อื่น (Ba) เพื่อสร้างความสัมพันธ์ 3. ความสามารถในการเข้าใจและจับใจความสำคัญ โดยมีความ ละเอียดอ่อนในการรับรู้รายละเอียดได้ดี 4. ความสามารถในการสร้างและถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจที่ปฏิบัติได้จริงสู่คนอื่น ๆ ได้ดี 5. ความสามารถในการใช้อำนาจของตนเองในทางที่ถูกต้อง 6. ความสามารถในการสร้างสนับสนุนความรู้เชิงปัญญาปฏิบัติให้ผู้อื่น

การเปลี่ยนแปลงจาก tacit เป็น explicit เกิดจากปัจจัยหลายตัว เช่น วิสัยทัศน์ของผู้นำ การได้ทำงานจริง การพูดคุยของคนที่ทำงานด้วยกัน หรือสภาพแวดล้อม โดยจะใช้ Ba หรือเวทีที่มีการแลกเปลี่ยนความรู้ ซึ่งอาจจะเป็นเวทีหรือใช้เครือข่ายอิเล็กทรอนิกส์ เมื่อมีการแลกเปลี่ยนความรู้ จากความรู้ส่วนตัวก็จะกลายเป็นความรู้ของทีมงาน และเกิดการขยายวงความรู้ เมื่อทำแบบนี้เรื่อยๆ ความรู้ก็จะกลายเป็นความรู้ระดับองค์กร เราจะได้ความรู้ที่มีทั้งคุณภาพและปริมาณเกิดการสร้างความรู้ใหม่ที่เป็นประโยชน์ต่อทุกคน

S = Socialization เป็นการสร้างความรู้ด้วยการแบ่งปันประสบการณ์ด้วยการพบปะสมาคมหรือการมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น เช่น การพูดคุย การสอนงาน ฝึกงาน ซึ่งเป็นการถ่ายทอดแบ่งปันความรู้ที่อยู่ในตัวบุคคลไปให้ผู้อื่น E = Externalization เป็นการถ่ายทอดความรู้ โดยการอธิบายหรือแสดงความรู้ที่อยู่ในตัวเพื่อให้ผู้อื่นได้รับการแบ่งปัน แนวคิด ภาษาสัญลักษณ์ ลายลักษณ์อักษร C = Combination เป็นการผสมผสาน โดยนำ ความรู้ที่ชัดแจ้งมาสร้างสรรค์ หรือเปลี่ยนแปลง ให้เป็นความรู้ที่ชัดแจ้งในเรื่องใหม่ ๆ มีความซับซ้อนมากขึ้น หรือเป็นขั้นเป็นตอนมากขึ้น เพื่อให้สามารถนำความรู้นั้นไปใช้ในทางปฏิบัติได้ง่ายขึ้น I = Internalization เป็นการนำความรู้ที่ได้มาใหม่ไปใช้ปฏิบัติหรือลงมือทำจริง ๆ

แนวคิดของศาสตราจารย์ อิคูจิโร โนนากะ คือให้ความสำคัญกับกระบวนการทางสังคมในการพัฒนามนุษย์เพราะเชื่อว่า ความรู้ที่สำคัญในการนำมาใช้ปฏิบัติงานเพื่อความก้าวหน้าของคนและองค์กรจะถูกสร้างผ่านกระบวนการปฏิสัมพันธ์ระหว่างความรู้แบบชัดแจ้งและความรู้ฝังในตน เชื่อว่าผู้บริหารระดับกลางเป็นจุดเชื่อมต่อของกลยุทธ์ (Strategic knot) จึงให้ความสำคัญกับการพัฒนาผู้บริหารระดับกลางให้มีทักษะ มีประสบการณ์ มีความคิดสร้างสรรค์ และ high-emotional knowledge (care /love /trust/safety)

high-emotional knowledge แลกเปลี่ยนความเอาใจใส่กัน (care) แลกเปลี่ยนความรัก love แลกเปลี่ยนความไว้เนื้อเชื่อใจกัน (trust) และแลกเปลี่ยนความปลอดภัย (safety) ซึ่งเป็นพื้นฐานของ tacit knowledge (care /love /trust/safety)4 เรื่องนี้เป็นเรื่องใหญ่มาก เพราะคือทุนทางสังคม (social capital)" ถ้าไม่มี 4 ตัวนี้ เราจะไม่มีการแลก tacit knowledge กัน เพราะคนไม่ไว้ใจ รู้สึกไม่ปลอดภัย รู้สึกว่าถูกละเลย หรือถูกปฏิบัติไม่ดี

การประเมินผลการปฏิบัติงานแนวใหม่ 1. ใช้เทคนิคการแลกเปลี่ยน แบ่งปันความรู้ ในการสร้างและแสวงหาความรู้เพื่อการพัฒนางาน 2. ใช้สุนทรีย สนทนาเป็นหลักในการสื่อสาร พูดคุยกัน 3. ก้าวข้ามการมองจุดอ่อน จุดด้อยของคน แต่ให้ความสำคัญกับจุดแข็ง / จุดดี มาทำให้เด่น 4. ส่งเสริมให้ผู้ปฏิบัติงานตระหนักในคุณค่าของตนเอง

ขอบคุณค่ะ ที่มาร่วมแลกเปลี่ยน