การพัฒนาระบบคุ้มครองเด็กสู่ประชาคมอาเซียน นางญาณี เลิศไกร ผู้อำนวยการสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส และผู้สูงอายุ
สถานการณ์สิทธิเด็กในอาเซียน นโยบาย/กลไก การพัฒนา การคุ้มครอง การคุ้มครอง เด็กกลุ่มพิเศษ - นิยามเด็กต่างกัน - ปรับกฎหมายใหม่ แต่ขาดการบังคับใช้ - ขาดระบบข้อมูล - ขาดระบบการติดตามการดำเนินงาน - ยังคงมีเด็กจำนวนมากไม่ได้จดทะเบียนเกิด - มีปัญหาเรื่องความรุนแรงต่อเด็ก - การเข้าถึงการศึกษาที่เสมอภาค - เด็กพิการ - เด็กที่ปัญหาสถานะ - เด็กถูกละเมิดทางเพศ - แรงงานเด็ก - อายุขั้นต่ำของเด็กที่รับผิดทางอาญาต่างกัน
การส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิเด็กในไทย แผนพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติภายใต้แผนพัฒนาเศรษฐกิจสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 5 และมีการจัดทำแผนอย่างต่อเนื่อง เน้น การพัฒนา การป้องกันแก้ไข สนองต่อความต้องการตามช่วงวัย 2525 พิธีสารฯ เรื่อง การขายเด็ก การค้าประเวณีเด็ก และสื่อลามกที่เกี่ยวกับเด็ก พิธีสารฯ เรื่องความเกี่ยวพันของเด็กในความขัดแย้งด้วยอาวุธ พิธีสารฯ เรื่อง กระบวนการติดต่อร้องเรียน 2535 2549 2549 2555 1. ประกันสิทธิ 2.มาตรการ ปฏิบัติ 3.เผยแพร่ 4.รายงาน
การประกันสิทธิ ผลักดันหลักการและบทบัญญัติของอนุสัญญา ไว้ในรัฐธรรมนูญ ผลักดันหลักการและบทบัญญัติของอนุสัญญา ไว้ในรัฐธรรมนูญ ออก/ปรับปรุง/แก้ไขกฎหมายให้สอดคล้องกับอนุสัญญา บรรจุแนวคิด หลักการ ไว้ในแผนพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ และแผนอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง จัดตั้งกลไกอำนวยการ (นิติบัญญัติ บริการ และตุลาการ)
สวัสดิภาพและสวัสดิการ มาตรการดำเนินงาน ก.มหาดไทย: จดทะเบียนเกิด สมช.: นโยบาย/ยุทธศาสตร์ สิทธิ สถานะบุคคล สุขภาพ การศึกษา สวัสดิภาพและสวัสดิการ กฎหมาย/ ยุติธรรม การตรวจสอบ กสม. : ติดตาม ตรวจสอบ สถานการณ์การคุ้มครอง สิทธิด้านต่าง ๆ ก.สาธารณสุข: พัฒนาคุณภาพชีวิต ศาลยุติธรรม/ศาลเยาวชนฯ /ก.ยุติธรรม ช่วยเหลือ เด็กที่มีปัญหาด้านกฎหมาย ก.ศึกษาธิการ การเข้าถึงและคุณภาพ การศึกษา ก.การพัฒนาสังคมฯ :สวัสดิภาพ/การคุ้มครอง ก.แรงงาน : อายุการจ้างงาน / แรงงานเด็ก
การเผยแพร่ การพัฒนาองค์ความรู้/หลักสูตร การสร้างความเข้าใจผ่านการประชุม/สัมมนา/ การฝึกอบรม การจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ สิทธิ ปรับปรุงหลักสูตร สิทธิเด็ก หน้าที่ อาเซียน พัฒนา/คุ้มครอง
การจัดทำรายงาน ฉบับที่ 3 + 4 2554 ฉบับที่ 2 2542 ฉบับที่ 1 2539 ฉบับที่ 5+6 2560 - ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ - ป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อม - ป้องกัน/ห้ามการขายเด็ก การค้าเด็ก การค้าประเวณีเด็ก สื่อลามกที่เกี่ยวกับเด็ก - ห้ามเกณฑ์เด็กเข้าไปมีส่วนในความขัดแย้งทางอาวุธ / กำหนดเป็นความเป็นทางอาญา - มาตรการสำหรับเด็กกลุ่มเสี่ยง - พัฒนาฐานข้อมูลเพื่อการคุ้มครองเด็ก - ปรับปรุงกฎหมาย: พ.ร.บ.คุ้มครองเด็กฯ - ถอนข้อสงวน ข้อ 22 - ลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา - ปราบปรามการทุจริตของเจ้าหน้าที่ - ภาคธุรกิจกับสิทธิเด็ก - ป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรง - พัฒนาเด็กปฐมวัย
ผลกระทบของอาเซียนต่อเด็ก - การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ - มีการเคลื่อนย้ายประชากรด้านการท่องเที่ยว/บริการ แรงงานมีฝีมือ พัฒนาเด็ก/เยาวชนพร้อมรับการเปลี่ยนแปลง แข่งขัน บนความเสมอภาคและเป็นธรรม การศึกษา - เด็กเคลื่อนย้ายเพิ่มขึ้นทั้งที่ติดตามผู้ปกครองและมาโดยลำพัง - อาชญากรรมข้ามชาติมากขึ้น - เด็กถูกทิ้ง พ่อแม่ไปทำงานนอกถิ่นฐาน - พัฒนาระบบการคุ้มครองเด็กโยกย้ายถิ่นฐานและเด็กที่ถูกทอดทิ้ง - พัฒนาระบบป้องกัน/ปราบปราม เพิ่มความร่วมมือเรื่องการลงโทษผู้กระทำผิด โยกย้ายถิ่นฐาน - การใช้สื่อกว้างขวางขึ้น - เกิดอาชญากรรมกับเด็กเยาวชน เช่น สื่อลามก การล่อลวง - เสริมสร้างสื่อสร้างสรรค์ - พัฒนาศักยภาพการใช้สื่อเพื่อพัฒนา รู้เท่าทันสื่อ และใช้สื่อให้เป็นประโยชน์ การใช้สื่อ - พ่อแม่ต้องแข่งขัน - ความสัมพันธ์ครอบครัวลดลง - ส่งต่อผลพัฒนาการเด็ก เสริมสร้างความเข้มแข็งครอบครัว ครอบครัว
ข้อเสนอแนะการคุ้มครองเด็กสู่ประชาคมอาเซียน คุณลักษณะเด็กในการเข้าสู่อาเซียน พัฒนาคุณภาพเด็กตามช่วงวัย พัฒนาศักยภาพ ผู้ทำงาน นโยบาย/ยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัด การคุ้มครองทางสังคม กฎหมาย/แนวปฏิบัติ สร้างความร่วมมือ
WE CARE FOR CHILDREN ติดต่อสอบถามข้อมูล สำนักส่งเสริมและพิทักษ์เด็ก 0 2651 7742