สรุปผลเยี่ยมดูงาน โรงพยาบาลนราธิวาสราชนครินทร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Medication reconciliation
Advertisements

การนำเสนอกิจกรรมคุณภาพ งานสารสนเทศ รพ.บึงกาฬ
การวิเคราะห์และใช้รหัส ICD ให้ได้ผลประโยชน์สูงสุด
Continuous Quality Improvement
ระบบจัดการผู้ป่วยนอกสำหรับโรงพยาบาล
การแพ้ยาข้ามกลุ่ม.
รายงานอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา ประจำปีงบประมาณ 2551
Sulperazon.
การประเมินการใช้ยา Nimesulide (Nidol)
Risk Management JVKK.
แนวโน้มผู้ป่วยอุบัติเหตุจราจร ปี
รายงานบาดเจ็บอุบัติเหตุจราจร ปี 2551
รายงานอุบัติเหตุขนส่ง ปี 2553
ความคลาดเคลื่อนในการให้ยา
Trigger marker + Medical record safety review ในโรงพยาบาลค่ายสุรนารี
ตามคำสั่งของแพทย์ ในระบบสารสนเทศโรงพยาบาล
การดำเนินการปรับปรุงระบบสารสนเทศ - ๑
ภก. ปรมินทร์ วีระอนันตวัฒน์
การพัฒนาระบบส่งต่อ การดูแลสุขภาพเขตเมือง
Lean & PCT อายุรศาสตร์ พงศ์ศักดิ์ ด่านเดชา.
ระบบทะเบียนสมรส และ ระบบทะเบียนการหย่า.
สถานการณ์และการดำเนินงานโรคคอตีบจังหวัดยโสธร 12 พฤศจิกายน 2555
ทะเบียนรับแจ้งข่าวการระบาด
Medication reconciliation
VDO conference dengue 1 July 2013.
แบบบันทึกประกอบการวินิจฉัยและการรักษา โรคท้องร่วงเฉียบพลัน
การนำร้านยาคุณภาพเข้าร่วมพัฒนาคุณภาพบริการ ระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า
ระบบเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
การส่งเสริมผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์รายใหม่เข้าสู่ระบบการดูแลรักษา
การพัฒนางานคุณภาพงานเอดส์
สถานการณ์และการดำเนินงานดูแลเด็กติดเชื้อเอชไอวี
บริบาลเภสัชกรรม รวดเร็วปลอดภัย คลินิกเด็กหัวใจสีเหลือง.
งานป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล
การจัดทำและรายงานข้อมูล แบบ  รง  ปีงบประมาณ 
โปรแกรมระบบข้อมูลแจ้งเตือนภัย กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ โดย ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ อุบลราชธานี 2009.
แนวทางการบริหารกองทุน ที่จ่ายตามเกณฑ์คุณภาพ ปีงบประมาณ 2552
โครงการพัฒนาเครือข่ายการดูแลผู้ป่วย เด็กโรคธาลัสซีเมีย จังหวัดอุดรธานี
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
การรายงาน ADR/ การป้องกันการแพ้ยาซ้ำ
Waiting time (OPD) ตามมาตรฐานงานเภสัชกรรมโรงพยาบาล
โรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราช
คณะกรรมการเภสัชกรรม และการบำบัด
รายงานอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา
อัตราความสมบูรณ์เวชระเบียนผู้ป่วยใน ไม่น้อยกว่า 80%
บทเรียนจากการเก็บข้อมูลภาคสนามเพื่อการติดตามตาม HIVDR-EWI
วันที่ 5 มิถุนายน 2549 ชื่อเรื่อง : การพัฒนากระบวนการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร ณ จุดประชาสัมพันธ์ แหล่งข้อมูล : ชื่อผู้เล่า นางสุรดา ภูมิปัญญา ตำแหน่ง เจ้าพนักงานธุรการ.
ระบบการส่งต่อผู้ป่วยจิตเวช
หลักการ วิเคราะห์ คำนวณภาระงาน และคำนวณ FTE ของบุคลากรแต่ละกลุ่ม
การจัดการระบบยา เพื่อ ความปลอดภัย บันไดขั้น 2 สู่ ขั้น 3.
CQI เวชระเบียนผู้ป่วยใน หาย วัตถุประสงค์ 1. ป้องกันเวชระเบียนผู้ป่วยใน สูญหาย / หาไม่พบ 1. ป้องกันเวชระเบียนผู้ป่วยใน สูญหาย / หาไม่พบ 2. สามารถค้นหาเวชระเบียน.
ข้อเสนอและทางเลือก คลินิกอาชีวเวชกรรมโรงพยาบาลกมลาไสย (กลุ่มครูและบุคลากรทางการศึกษา) ความร่วมมือระหว่าง สำนักงานส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครู และบุคลากรทางการศึกษาจังหวัดกาฬสินธุ์
แนวทางการบันทึก และตรวจประเมินคุณภาพ การบันทึกเวชระเบียน ผู้ป่วยนอก
ความคงตัวของยาฉีดหลังผสม / วิธีบริหารยา และสารละลายเจือจางที่เหมาะสม
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2557 เดือน มกราคม 2557 รวมทั้งสิ้น 79 ตัวชี้วัด.
เทคนิคการจัดการ ความคลาดเคลื่อนทางยาในเครือข่ายบริการปฐมภูมิเขตเมือง
สรุปผลงาน ปีงบประมาณ 2552 ( ตุลาคม กันยายน 2552 )
การเตรียมผู้ป่วยสูงอายุก่อนและการดูแลระหว่างการรักษาด้วยไฟฟ้า
โรงพยาบาลอาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด
นันท์นลิน นาคะกุล พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ เมษายน 2557
นสภ.ณัฐกานต์ ศรีกรินทร์
 เพื่อเป็นการธำรงคุณภาพของงานด้านเภสัชกรรม ตามที่มีการวางระบบไว้และเป็นโอกาสพัฒนางาน ด้านเภสัชกรรมด้านต่างๆสำหรับเภสัชกรที่ หมุนเวียนมารับหน้าที่
การเตรียมยาในโรงพยาบาล
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2557 เดือน ธันวาคม 2556 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
วิเคราะห์สถิติผู้ป่วยนอก ให้รหัสตาม icd10tm
Pharmacist‘s role in Warfarin Team
นสภ.ณัฐกานต์ ศรีกรินทร์
ยาที่ใช้ในโรคข้อเสื่อม
มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สรุปผลเยี่ยมดูงาน โรงพยาบาลนราธิวาสราชนครินทร์ สรุปผลเยี่ยมดูงาน โรงพยาบาลนราธิวาสราชนครินทร์ 29 พฤศจิกายน 2556

การลงแพ้ยา การลงแพ้ยามี 2 หน้าจอ 1. หน้าจอเวชระเบียน : ขึ้น Pop up แจ้งเตือน แต่สามารถสั่งใช้ยาได้ 2. หน้าจอห้องยา : ขึ้น Pop up แจ้งเตือน และห้ามสั่งใช้ยาได้

การลงแพ้ยา รายการยาที่มีใน รพ. จะต้องใช้ชื่อ Generic เดียวกันในทุกตัวยา ทั้งยาเดี่ยวและยาผสม ในทุก Dosage form ยาที่ Inactive ให้ลบข้อมูล (ภญ.สุธาลินี) ฐานข้อมูลแพ้ยา (8,000 ราย) ให้ทบทวน (ภญ.สุชีรา)

การลงแพ้ยา จัดทำ ADR group : รอนำเสนอ MSO (ภญ.นริศรา) หน้าจอแพ้ยา : ไม่ต้องลงข้อมูลทุกช่อง ก็สามารถบันทึกข้อมูลได้

กลุ่มยา POP-UP Fluoroquinolone Penicillin Norfloxacin Amoxycillin Ofloxacin Ciprofloxacin Levofloxacin Penicillin Amoxycillin Amoxycillin+Clavulanic acid Ampicillin Ampicillin+Sulbactam Benzathine Penicillin G Cloxacillin Dicloxacillin Penicillin G sodium Penicllin V Piperacillin+Tazobactam Aromatic anticonvulsants Phenytoin Carbamazepine Phenobarbital

กลุ่มยา POP-UP Aspirin Aspirin+Clopidogrel Aspirin+Dipyridamole Bismuth subsalicylate Cephalosporin R1: Amoxicillin, Ampicillin, Cephalexin R1: Cefotaxime, Ceftriaxone R2: Cefdinir, Cefixime Structure Arylpropionic acids: Ibuprofen, Naproxen, Loxoprofen, Nimesulide Anthranilic acids: Mefenamic acid, Floctafenine Specific COX-II inhibitors: Celecoxib, Etoricoxib, Parecoxib

กลุ่มยา POP-UP NSAIDs Pseudoallergy +/- Paracetamol Aspirin (Aspirin+Clopidogrel, Aspirin+Dipyridamole, Bismuth subsalicylate) Ibuprofen Diclofenac Indomethacin Mefenamic acid Floctafenine Loxoprofen Nimesulide Naproxen Sulfa Sulfamethoxazole+Trimethoprim Silver sulfadiazine (Flamazine) Sulfadiazine Sulfasalazine Sulfinpyrazone

การลงแพ้ยา กรณีผูกแพ้ยาแบบกลุ่ม และ Pop up : จะใช้เครื่องหมาย “ * ” ในยาที่แพ้ ส่วนยาที่ผูกกลุ่มจะไม่มี “ * ” **Norfloxacin** - MP rash Ciprofloxacin – MP rash Levofloxacin – MP rash

การลงแพ้ยา การผูกกลุ่มแพ้ยา : จะห้ามการสั่งใช้ยาทั้งกลุ่มยา หากแพทย์ ยืนยันการสั่งใช้ยา ต้องประสานผู้มีรหัสปลดล๊อค (ภญ.นริศรา-263, ภญ.สุชีรา-287, ภญ.มัชมน-263)

การลงแพ้ยา หน้าจอเวชระเบียนได้ทำการลงประวัติไปแล้ว 35% (หมวด ก – ธ) หน้าจอห้องยา เริ่มลง น – ฮ ก่อน Pop up แจ้งเตือนแพ้ยา จะดึงข้อมูลจากหน้าจอห้องยาก่อน

ขั้นตอนการลงแพ้ยา ข้อเสนอ : อาสาสมัครหน่วยงานละ 1 คน ยกเว้น OPD 2 คน รวมทั้งหมด 9 คน

การคิด P4P ลงประวัติแพ้ยา หน้าจอเวชระเบียน : ราย x 3 x 1 หน้าจอห้องยา : ราย x (10-15) x 1.25 (ข้อเสนอ)  ยังไม่ได้ข้อสรุป รอเก็บเวลาจริงและนำมาเฉลี่ย

Drug Interaction (DI) ทบทวนคู่ยา DI 4 คู่กลุ่มยา (รอนำเสนอ MSO)

Fatal DI - PDE-inhibitor + Nitrate >> 5 คู่ Sildenafil ISOSORBIDEDINITRATE Risk : Severe hypotension or shock Monitor : Blood pressure สังเกตอาการ : ความดันโลหิตลดต่ำลงอย่างรวดเร็ว ช็อคและเสียชีวิต ไม่ควรใช้ร่วมกัน ISOSORBIDEMONONITRATE NITROGLYCERINETTS GLYCERYLTRINITRATE50MG/10ML SOD.NITROPRUSSIDE

Non-Fatal DI Warfarin + NSIADs >> 11 คู่ Warfarin Aspirin Risk : increase or decrease warfarin level Monitor : INR level สังเกตอาการ : Warfarin bleeding-จุดจ้ำเลือด ปัสสาวะสีผิดปรกติ เลือดไหลไม่หยุดThromboembolism-แน่นหน้าอก ปวดศรีษะ ขาบวม Ibuprofen Diclofenac Indomethacin Mefenamic acid Floctafenine Loxoprofen Naproxen Celecoxib Etoricoxib Parecoxib

Non-Fatal DI Ergot derivatives + PIs,NNRTIs >> 8 คู่ Thioridazine + Fluoxetine >> 1 คู่ Ergotamine Nevirapine Risk:Increase ergot toxicity - Peripheral ischemia สังเกตอาการ : คลื่นไส้ อาเจียน ชาปลายมือปลายเท้า สีเขียวคล้ำ Efavirenz GPOvir-Z Indinavir Ritonavir Kaletar Atazanavir GPOvir-S Fluoxetine Thioridazine Risk:Increase thioridazine level ; prolongation of QT interval อาจเกิด torsade de pointes สังเกตอาการ : หัวใจเต้นผิดจังหวะ ใจสั่น กล้ามเนื้อเกร็ง น้ำลายไหล หน้ามืดขณะเปลี่ยนท่า

Drug Interaction (DI) การสั่งใช้คู่ Fatal DI >> บันทึกข้อมูลไม่ได้ ต้องปลคล็อคเหมือนแพ้ยา การสั่งใช้คู่ Non-fatal DI >> บันทึกข้อมูลได้ พร้อมออกฉลากเตือน DI

Drug Interaction (DI)

Drug Interaction (DI) Model รพ.นราธิวาส IPD >> เภสัชกรติดตาม DI ที่หอผู้ป่วย OPD >> counseling เมื่อจ่ายยา

Drug Interaction (DI) การติดตาม DI ผู้ป่วยใน งานบริบาลฯ >> รับผิดชอบ 4 ward (อายุรกรรมชาย-หญิง, ศัลยกรรมชาย, จส.สามัญ) IPD1 & IPD2 >> ตาม ward รับผิดชอบ

Drug Interaction (DI) ขั้นตอนการทำ DI เภสัชกรพบแพทย์สั่งคู่ยาที่กำหนด >> consult + F/U monitor บันทึกข้อมูล ส่งสรุป ภญ.ศรีสมร ทุกวันที่ 5 ของเดือน

Drug Interaction (DI) Note: IPD >> ครอบคลุมตลอดการ Admit OPD >> เฉพาะในใบสั่งยาเดียวกัน

Drug Interaction (DI) การคิด P4P บันทึก DI >> ราย x 2 x1 OPD counseling >> ราย x 10 x 1.5 (เทคนิคพิเศษ) ติดตาม DI ที่ ward >> ราย x 15 x1.25 (DUE ATB) >> ราย x 7 x 2 (case F/U บริบาล) เฉพาะ การติดตาม DI ที่ ward ยังไม่ได้ข้อสรุป