การคำนวณต้นทุนผลผลิต

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

การวิเคราะห์และประเมินค่างาน
Graduate School Khon Kaen University
ต้นทุนผลผลิต มหาวิทยาลัยขอนแก่น
กองการเงินและบัญชี ฝ่ายบริหารทั่วไป ฝ่ายควบคุมงบประมาณ กลุ่มงานบัญชี
แผนปฏิบัติการ ปีงบประมาณ พ.ศ นำไปสู่การปฏิบัติ
โครงการพัฒนา (Cross Function) กลุ่ม Tsunami2.
ฝ่ายกิจการคณะวุฒยาจารย์ สำนักงานสภามหาวิทยาลัย
การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชี้ สกอ. และ สมศ.
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร
สรุปประเด็นหารือ.
โครงการ RID-CEO กลุ่มสชป กลุ่มทักษิณ.
การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตาม ตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ วันที่ 29 มกราคม 2551.
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
KM RID Team Work / Team Learning / AAR.
รองอธิบดีฝ่ายบำรุงรักษา
สำนักบริหาร การมีส่วนร่วมของประชาชน
การถ่ายทอดตัวชี้วัดลงสู่ระดับสำนัก/กอง และระดับบุคคล
การขอจัดตั้งส่วนราชการ
ระบบบริหารงบประมาณ และการเงิน (BIS)
การปรับปรุงโครงสร้างภายในกองพัสดุ เสนอที่ประชุม
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
ส่วนมาตรฐาน/ส่วนวิชา การ/ส่วนวิศวกรรม
การชี้แจงบุคลากรทางการศึกษาอื่น ตามมาตรา 38ค.(2) เรื่อง กรอบอัตรากำลัง
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ไทย ทิพย์สุวรรณกุล
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
หมวด2 9 คำถาม.
แนวทางการดำเนินงานโครงการสำคัญ ปีงบประมาณพ.ศ.2554 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
COP เรื่องต้นทุนต่อหน่วยผลผลิตของงานซักฟอก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร
ตัวอย่างการประเมินฯ ของกรมสารขัณฑ์
ผศ.ดร.กัลยาณี คูณมี ทีมที่ปรึกษาสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
การประชุมชี้แจงสาระสำคัญของประกาศ คพร.
มาตรฐานทางการเงิน 7 ด้าน
1. ข้อมูลพื้นฐานของ 1) วิสัยทัศน์ 2) พันธกิจ 3) อำนาจหน้าที่
กลุ่มที่ 2 Blueprint for Change (BFC). รายชื่อสมาชิกกลุ่มที่ 2 1. นิตยา วงศ์เดอรี ประธาน 2. สมคิด จันทมฤก เลขานุการ 3. สีหเดชา กลิ่น หอมหวล 4. ศิธร ปถม.
4.6 การคำนวณต้นทุนของส่วนราชการ วัตถุประสงค์ ส่วนราชการสามารถคำนวณต้นทุนได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม เป็นมาตรฐานเดียวกัน เปรียบเทียบต้นทุนกันได้ในระหว่างหน่วยงาน.
การปรับปรุงอัตรากรมแพทย์ทหารเรือ
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
ตัวชี้วัด ปี 2548 คำรับรองการปฏิบัติราชการ มิติ 1 ประสิทธิผล
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนลักษณะสำคัญขององค์กร :
“การถ่ายทอดตัวชี้วัด จากระดับองค์กรลงสู่ระดับบุคคล”
ดัชนีชี้วัดระดับบุคคล หมายถึง เครื่องมือที่ใช้วัดและประเมินผลการดำเนินงานในด้านต่าง ๆ ที่สำคัญของบุคคลแต่ละตำแหน่งหรือแต่ละบุคคล ซึ่งแสดงผลเป็นข้อมูลในรูปของตัวเลขเพื่อสะท้อนประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการทำงานของบุคคล.
กลุ่ม เก็บตะวัน กลุ่มที่ 5 กาญจนบุรี สมุทรสงคราม
กลุ่มที่ 13 มะขามทอง C.R.P. จังหวัดเพชรบูรณ์ จังหวัดฉะเชิงเทรา
คือ ระบบบัญชีคอมพิวเตอร์
การชี้แจงวิธีการใช้งาน ระบบติดตามออนไลน์
การเลื่อนตำแหน่งสายสนับสนุน
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
Evaluation as a Strategy ; สำนักประเมินผล สำนักงบประมาณ
ปฏิทินการจัดทำงบประมาณลงทุน งบประมาณแผ่นดินประจำปีงบประมาณ 2559 และการปรับปรุงงบประมาณประจำปีงบประมาณ 2558 ของแผนกงบประมาณ.
การบันทึกลดหย่อนภาษี(ล.ย.01) และต้นทุนกิจกรรมย่อย
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
นางสาวทิพาภรณ์ วชิรา ภากร หัวหน้ากลุ่มงานบัญชี ( กชง. ) ตบ. งบ. บช. งบ.5 บช. งบ.3 บช. งบ.2 บช. งบ.1 บช. งบ.4.
ระบบงานตรวจการจ้าง รายการสิ่งก่อสร้างวิทยาเขตปัตตานี
นำเสนอโดย : นางนันทิยา วาสุกรี
สรุปผลการดำเนินงานกลุ่มที่ 3 ภาคกลาง
แนวทางการรายงาน ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
1 การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การติดตาม ประเมินผล กรมควบคุม โรค ปี 2553 วันที่ 2 มีนาคม 2553 เวลา – น. ณ ศูนย์ปฏิบัติการกรมควบคุมโรค อาคาร.
การคำนวณต้นทุนผลผลิต สำนักส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน
นางสาวทิพาภรณ์ วชิรา ภากร หัวหน้ากลุ่มงานบัญชี ( กชง. ) ตบ. งบ. บช. งบ.5 บช. งบ.3 บช. งบ.2 บช. งบ.1 บช. งบ.4.
คำขวัญประจำจังหวัด เหนือสุดในสยาม ชายแดนสามแผ่นดิน ถิ่นวัฒนธรรมล้านนา
Progress Report 2548 Financial Report Link to Progress Report 2550 Capacity Building 2551 Estimates Report Link to Excel Loader KPI Strategy.
และค่าเป้าหมายรายบุคคล
พระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวก ในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ
หลักเกณฑ์และเงื่อนไข การเลื่อนเงินเดือนประการอื่น ๆ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การคำนวณต้นทุนผลผลิต นายมนัส กำเนิดมณี วิศวกรชลประทาน 8 วช 28-29 สิงหาคม 2551

คณะทำงานต้นทุนผลผลิต 1. นายวีระ วงศ์แสงนาค รธบ. ประธานคณะทำงาน 2. นายเลิศวิโรจน์ โกวัฒนะ รธร. รองประธานคณะทำงาน 3. นายชัชวาล ปัญญาวาทีนันท์ ผชพ.จษ.2 รองประธานคณะทำงาน 4. นายเลอศักดิ์ ริ้วตระกูลไพบูลย์ ผชพ.บน. รองประธานคณะทำงาน 5. นายทองเปลว กองจันทร์ ผพช. คณะทำงาน 6. นางสุชาดา ชวนานนท์ ผอ.งบ. คณะทำงาน 7. นายสุรสีห์ กิตติมณฑล ผอ.ผง. คณะทำงาน 8. นายประวัติ มงคลเนาวรัตน์ ผอ.กพร. คณะทำงาน 9. นายอัครพงษ์ บุญมาศ ผปษ. คณะทำงาน 10. นายสมชาย พฤฒิพรกิจ ผวศ.คญ.(รก.) คณะทำงาน / 11. นาย...

คณะทำงานต้นทุนผลผลิต (ต่อ) 11. นายอนุพงษ์ บุณยเกียรติ กป.คก. คณะทำงาน 12. นายไวฑิต โอชวิช กพ.ผง. คณะทำงาน 13. นายทศพล วงศ์วาร กง.ผง. คณะทำงาน 14. นายมนัส กำเนิดมณี กพ.จน. คณะทำงาน 15. น.ส.ทิพาภรณ์ วชิราภากร กชง. คณะทำงาน 16. นางเพียงทอง ชูวิชา ฝบง. คณะทำงานและเลขานุการ 17. นางมัทนา ทัมภากร นักวิชาการเงินและบัญชี 6 ว คณะทำงานและ ผู้ช่วยเลขานุการ 18. นางกนกวรรณ ธนาเลิศสมบูรณ์ นักวิชาการเงินและบัญชี 6 ว คณะทำงานและผู้ช่วยเลขานุการ

คณะทำงานย่อยคำนวณต้นทุนผลผลิต 1. นายชัชวาล ปัญญาวาทีนันท์ ผชพ.จษ.2 ที่ปรึกษาคณะทำงานย่อย 2. นางสุชาดา ชวนานนท์ ผอ.งบ. ประธานคณะทำงานย่อย 3. นายสมเจต พานทอง กป.ปษ. คณะทำงานย่อย 4. น.ส.เกษมณี ทฤษณาวดี จ.วิเคราะห์ฯ 8 ว คณะทำงานย่อย 5. น.ส.ทิพาภรณ์ วชิราภากร กชง. คณะทำงานย่อย 6. นางอารีรัตน์ จันทราชา ฝงง. คณะทำงานย่อย 7. นายไพฑูรย์ กุลไทย วิศวโยธา 5 คณะทำงานย่อย 8. ว่าที่ ร.ต.เอก ขุทรานนท์ จ.วิเคราะห์ฯ 5 คณะทำงานย่อย 9. นางเพียงทอง ชูวิชา ฝบง. คณะทำงานและ เลขานุการ / 10. นาง...

คณะทำงานย่อยคำนวณต้นทุนผลผลิต (ต่อ) 10. นางมัทนา ทัมภากร นักวิชาการเงินและบัญชี 6 ว คณะทำงานย่อยและ ผู้ช่วยเลขานุการ 11. นางกนกวรรณ ธนาเลิศสมบูรณ์ นักวิชาการเงินและบัญชี 6ว คณะทำงานย่อยและผู้ช่วยเลขานุการ 12. น.ส.กนกวรรณ ศรีสุวรรณภพ จ.วิเคราะห์ฯ 5 คณะทำงานย่อยและ ผู้ช่วยเลขานุการ

คณะทำงานย่อยต้นทุนผลผลิตด้านเทคนิค 1. นายเลอศักดิ์ ริ้วตระกูลไพบูลย์ ผชพ.บน. ที่ปรึกษา 2. นายมนัส กำเนิดมณี กพ.จน. ประธานคณะทำงานย่อย 3. นายทวีศักดิ์ ธนเดโชพล ผอ.คป. ชุมพร รองประธานคณะทำงานย่อย 4. น.ส.ทิพาภรณ์ วชิราภากร กชง. รองประธานคณะทำงานย่อย 5. นายวัชระ เสือดี ผพช. คณะทำงานย่อย 6. นายธเนศ อักษร วิศวกรโยธา 4 คณะทำงานย่อย 7. นายทศพล วงศ์วาร กง.ผง. คณะทำงานย่อย 8. นางสุนทรี ใหญ่สว่าง นักวิชาการเงินและบัญชี 7ว คณะทำงานย่อย 9. ว่าที่ ร.ต. เอก ขุทรานนท์ เจ้าหน้าที่วิเคราะห์ฯ 5 คณะทำงานย่อย /10. นาย...

คณะทำงานย่อยต้นทุนผลผลิตด้านเทคนิค (ต่อ) 10. นายไพศาล วรรณเกื้อ วิศวกรชลประทาน 7 วช. คณะทำงานย่อยและ เลขานุการ 11. นางมัทนา ทัมพากร นักวิชาการเงินและบัญชี 6ว คณะทำงานย่อยและ ผู้ช่วยเลขานุการ 12. นางกนกวรรณ ธนาเลิศสมบูรณ์ นักวิชาการเงินและบัญชี 6ว คณะทำงานย่อยและ ผู้ช่วยเลขานุการ

แผนการจัดการสัมมนา สัมมนาฯ ครั้งที่ 1 เพื่อทบทวนภารกิจ ผลผลิต กิจกรรม หน่วยนับ วันที่ 22-23 พฤษภาคม 2551 สัมมนาฯ ครั้งที่ 2 เพื่อกำหนดผลผลิตย่อย กิจกรรมย่อย หน่วยนับ และพจนานุกรมผลผลิต กิจกรรม วันที่ .......... กรกฎาคม 2551 สัมมนาฯ ครั้งที่ 3 กำหนดขั้นตอนเพื่อจัดทำคู่มือการคำนวณ ต้นทุนผลผลิตจากข้อมูลในระบบ GFMIS วันที่ ……. กรกฎาคม 2551 คู่มือ

การเชื่อมโยงระหว่างยุทธศาสตร์และผลผลิต รัฐธรรมนูญ คำแถลงนโยบายของรัฐบาล แผนยุทธศาสตร์ของหน่วยงานอิสระตามรัฐธรรมนูญ --------------------- แผนกลยุทธ์ของหน่วยงานย่อย แผนยุทธศาสตร์ของหน่วยงานฝ่ายนิติบัญญัติ ------------------- แผนกลยุทธ์ของหน่วยงานย่อย แผนบริหารราชการแผ่นดิน แผนยุทธศาสตร์ของกระทรวง แผนยุทธศาสตร์ของกรม แผนกลยุทธ์ของรัฐวิสาหกิจ องค์การอิสระ องค์การมหาชน ผลผลิต-ผลลัพธ์ ผลผลิต-ผลลัพธ์ ผลผลิต-ผลลัพธ์ ผลผลิต-ผลลัพธ์ กิจกรรม กิจกรรม กิจกรรม กิจกรรม

ชป390/1

ประโยชน์ของข้อมูลต้นทุน 5 ด้าน 1. การควบคุมต้นทุนและงบประมาณ (เปรียบเทียบระหว่างสำนัก/กอง) 2. การวัดผลการดำเนินงาน 3. การกำหนดค่าธรรมเนียม (เช่น มหาวิทยาลัย) 4. ประเมินความเหมาะสมของกิจกรรม 5. การตัดสินใจของคำนึงถึงความเหมาะสมทางการเงิน งานส่งน้ำ งานก่อสร้าง งานพิจารณาโครงการ งานออกแบบ

คำศัพท์ ผลผลิตหลัก หมายถึง ผลผลิตตามเอกสารงบประมาณ รวมถึงผลผลิตอื่นที่นอกเหนือจากเอกสารงบประมาณที่อยู่ภายใต้การดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ ซึ่งอาจจะไม่ได้ใช้เงินในงบประมาณในการผลิตผลผลิต ผลผลิตย่อย หมายถึง ผลิตภัณฑ์หรือบริการที่หน่วยงานภาครัฐทำการผลิต และส่งมอบให้กับบุคคลภายนอก ซึ่งหน่วยงานกำหนดขึ้นเพื่อใช้ในการคำนวณหาต้นทุนต่อหน่วยผลผลิตของหน่วยงาน และสามารถเปรียบเทียบต้นทุนต่อหน่วยผลผลิตระหว่างปีของหน่วยงานเองและเปรียบเทียบระหว่างหน่วยงานอื่นได้

คำศัพท์ กิจกรรมหลัก หมายถึง กิจกรรมตามเอกสารงบประมาณ รวมถึงกิจกรรมอื่นที่นอกเหนือจากเอกสารงบประมาณที่อยู่ภายใต้การดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ ซึ่งอาจจะไม่ได้ใช้เงินในงบประมาณในการดำเนินกิจกรรม กิจกรรมย่อย หมายถึง กิจกรรมของหน่วยงาน ซึ่งหน่วยงานกำหนดขึ้นเพื่อใช้ในการคำนวณหาต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม และสามารถเปรียบเทียบต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรมระหว่างปีของหน่วยงานเองและเปรียบเทียบระหว่างหน่วยงานอื่นได้

การวิเคราะห์และกำหนดกิจกรรมย่อย นักวิเคราะห์จะกำหนดกิจกรรมละเอียดหรือหยาบขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ การระบุกิจกรรมที่ละเอียดเกินไปอย่างทำให้ต้นทุนกับประโยชน์ที่ได้รับไม่คุ้มกัน ต้นทุน-ประโยชน์ คุ้มหรือไม่ขึ้นอยู่กับความตั้งใจในการใช้ข้อมูลต้นทุนกิจกรรม การตัดสินใจพัฒนากิจกรรมขององค์กรอาจต้องการข้อมูลกิจกรรมที่ละเอียด เป็นการวิเคราะห์กระบวนการทำงานอย่างละเอียดในแต่ละศูนย์ต้นทุน แต่ละศูนย์ต้นทุนทำกิจกรรม 1 กิจกรรมหรือมากกว่า เพื่อที่จะสร้างผลผลิต

การวิเคราะห์และกำหนดกิจกรรมย่อย ในช่วงเริ่มแรก การกำหนดกิจกรรมในศูนย์ต้นทุนไม่ควรเกินกว่าจำนวนฝ่ายหรือกลุ่มย่อยภายใต้ศูนย์ต้นทุน (สำนัก/กอง) กำหนดหน่วยนับของกิจกรรมย่อย ให้พิจารณาดังนี้ กรณีที่กิจกรรมเป็นกิจกรรมที่หน่วยงานภายนอกอื่นทำเหมือนกัน กำหนดหน่วยนับตามหน่วยงานอื่น กรณีที่กิจกรรมเป็นกิจกรรมที่ไม่มีหน่วยงานภายนอกอื่นทำเหมือนกัน กำหนดหน่วยนับอย่างสม่ำเสมอ โดยหน่วยนับแสดงถึงปริมาณงานของกิจกรรม

ความสำคัญของข้อมูลด้าน ต้นทุนกิจกรรมย่อยและผลผลิตย่อย 1. การตัดสินใจในการบริหารองค์กรโดยใช้ข้อมูลต้นทุนที่ถูกต้องและเป็นปัจจุบันมีผลต่อประสิทธิภาพขององค์กร และผลประโยชน์ของประเทศชาติ 2. การระบุทรัพยากรเข้าสู่กิจกรรม และพิจารณาว่ากิจกรรมได้ใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดอย่างไร ซึ่งเป็นปัจจัยในการพิจารณาต้นทุนของผลผลิต 3. ในการหาต้นทุนกิจกรรม ถ้าหน่วยงานมีกิจกรรมที่เหมือนหน่วยงานอื่นก็ ควรกำหนดงานนั้นขึ้นเป็นกิจกรรมและกำหนดหน่วยนับให้เหมือนหน่วยงานอื่น เช่น กิจกรรมการก่อสร้าง เป็นกิจกรรมที่เอกชนก็ทำ ก็ควรกำหนดเป็นกิจกรรมเพื่อหาต้นทุนพร้อมหน่วยนับที่เหมือนกัน ถ้าภาครัฐดำเนินงานไม่มีประสิทธิภาพ เราสามารถพิจารณา outsource จ้างเอกชน

หลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิต (เดิม) ผลผลิตหลัก Cost จาก GL สำนัก กอง ศูนย์ กิจกรรมหลัก หลัก 12 + 3 + 3 ค่าใช้จ่าย ทางตรง 100 กิจกรรม 1 ผลผลิต 1 หลัก 18 + 2 + 3 หลัก 17 + 3 + 3 กิจกรรม 2 หลัก 8 + 2 + 3 หลัก 15 + 5+ 4 ผลผลิต 2 หลัก 20 + 5+ 4 กิจกรรม 3 รวม 110 ค่าใช้จ่าย ทางอ้อม 30 สนับสนุน 6 + 4 กิจกรรม 4 ผลผลิต 3 สนับสนุน 4 + 6 รวม 20 กิจกรรม 5 รวมทั้งหมด 130 รวม 130

วิธีการจัดทำต้นทุนผลผลิตในปีงบประมาณ พ.ศ.2551 เงินเดือน งบดำเนินงาน

การคำนวณหาต้นทุนของกิจกรรมย่อย (สชป.1-17 สคญ. สจก.) (ที่เหลือทั้งหมด)

การคำนวณหาต้นทุนของผลผลิตย่อย

การคำนวณหาต้นทุนของกิจกรรมหลัก

การคำนวณหาต้นทุนของผลผลิตหลัก

Workshop

ทบทวน กิจกรรมย่อย