การศึกษาความรู้ทางคณิตศาสตร์ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ และความคิดเห็นเกี่ยวกับการเรียนการสอนของนิสิตนักศึกษาครุศาสตร์ ศึกษาศาสตร์ วิชาเอกคณิตศาสตร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อ พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2548
Advertisements

เปรียบเทียบครุศาสตร์อุตสาหกรรมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ  
ประวัติและประสบการณ์การทำงาน
หลักสูตรอักษรศาสตรมหาบัณฑิต คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
การประกันคุณภาพการศึกษา
งานวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
การวิเคราะห์งานวิจัย เรื่อง การพัฒนารูปแบบการประเมินประสิทธิผลองค์การภาครัฐเกี่ยวกับการศึกษาอาชีพนอกระบบโรงเรียน จัดทำโดย นายพิสณุ ฟองศรี หลักสูตรปริญญาครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต.
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
วิชาคอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา โดย นางสาวเพลินจิตร์ กันหาป้อง
นางเจริญสุข ผ่องภักดี
ชื่อเรื่อง การใช้สื่อแบบฝึกทักษะภาพสามมิติเพื่อพัฒนาการเรียน การสอนหน่วยที่ 1 การบำรุงรักษาเครื่องยนต์เล็ก วิชางานเครื่องยนต์เล็ก รหัส
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
แนะนำรายวิชาและ กำหนดข้อตกลงร่วมกันระหว่างผู้เรียนและผู้สอน
บทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง ฟังก์ชัน นางสาวอรชุมา บุญไกร โรงเรียนสิชลคุณาธาร วิทยา.
นายวิชชุกร บัวคำซาว วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร จังหวัดเชียงใหม่
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต อำเภอเมือง จังหวัด ภูเก็ต
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์วิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์ 3 เรื่องอัตราส่วนตรีโกณมิติโดยใช้ชุดฝึกทักษะ ของนักเรียนระดับชั้น ปวช.2 แผนกช่างอุตสาหกรรม.
ประชุมคณาจารย์คณะครุศาสตร์ วันพฤหัสบดีที่ 19 มิถุนายน 2557
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ วิชาไมโครคอนโทรเลอร์ โดยใช้สื่อการเรียนการสอนเรื่อง ไมโครคอนโทรลเลอร์ควบคุม 7 Segment สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
ชื่อเรื่อง แรงจูงใจของนักศึกษาในการเลือกเรียนหลักสูตรปริญญาตรีสาขาบริหารธุรกิจบัณฑิต ผู้วิจัย นางสาวณัฐกานต์ ภูแฝก.
นางสาวปัทมา ปวงหล้า วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
การวิเคราะห์วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น ในช่วงปี พ.ศ Analysis of Master’s Thesis in Social Studies.
นายสุชาติ ประวัติ วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค)
แนะนำรายวิชาและ กำหนดข้อตกลงร่วมกันระหว่างผู้เรียนและผู้สอน
การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้
ผลงานวิจัยเรื่อง “ ทักษะพัฒนาการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการภาษีอากรเรื่องการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมโดยใช้ชุดสอนซ่อมเสริมของนักศึกษาชั้นปีที่
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนบนเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ด้วยการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้เทคนิคการใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับ เทคนิคจิกซอว์ เรื่อง อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น.
นายทศพิธ แป้นดวงเนตร วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
ชื่อผู้วิจัย นายอภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง สมการกำลังสอง
อาจารย์ชนิศา แจ้งอรุณ วิทยาลัยอาชีวศึกษาสันติราษฎร์ ในพระอุปถัมภ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลศรีย่าน
นางสาวนัทธ์หทัย ปัญเจริญ
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
ผู้วิจัย : นางนิตยา งามยิ่งยง วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม ( สยามเทค )
อาจารย์แผนกช่างก่อสร้าง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
การสร้างและพัฒนาชุดฝึกทักษะ การแก้โจทย์ปัญหา เรื่อง อนุพันธ์
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านจับ ใจความภาษาอังกฤษโดยใช้ชุดแบบฝึก เสริมทักษะของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1/1.
ชื่อผู้วิจัย จิติวัฒน์ สืบเสนาะ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกการอ่านของนักเรียนระดับ ปวช
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
***นำเสนอผลงานวิจัย***
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
ผู้วิจัย นายไพรัตน์ ศิลปสาตร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
นางสาวพิชญาภา อิ่มประไพ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลบริหารธุรกิจ (MBAC)
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
การจัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักศึกษา ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 วิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ( )
โดย นายสุรชัย ไตรบรรณ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาระบบจัดการพลังงานใน อุตสาหกรรม ระดับชั้น ปวส.2/1 หมวดวิชาช่าง ยนต์ โดยใช้กิจกรรมเพื่อนช่วยเพื่อน โดย นายสุรชัย ไตรบรรณ์
การนำเสนอผลงานวิจัย ชื่อเรื่อง : สมรรถนะที่เป็นจริงของผู้สำเร็จการศึกษาระดับ ปวส. แผนก การบัญชี ตามความคิดเห็นของหัวหน้าแผนกบัญชี ในเขตพื้นที่
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาความสามารถในการผลิตสื่อเพื่อการสื่อสารทางการตลาดโดยเน้นการฝึกปฏิบัติจริงในรายวิชาการสื่อสารทางการตลาดของนักศึกษา ชั้นปีที่ 2.
นางสาวจันทร์ฉาย ทะนุก้ำ ผู้วิจัย
วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม (สยามเทค) กรุงเทพมหานคร
ประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนประกอบ ประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนประกอบการเรียนทางไกลแบบสองทางพร้อมสื่อประสมผ่านดาวเทียม เรื่อง Computer.

ผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาอาชีวศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาการ บัญชี วิชาการบัญชีเบื้องต้น ด้วยวิธีการจัดการเรียนรู้แบบสร้าง สถานการณ์จำลอง.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การป้อนสมการและสูตรทางคณิตศาสตร์ ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) ในรายวิชา การใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา
การทดลองใช้เอกสารประกอบการเรียน ในวิชาบัญชีเบื้องต้น 2
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน ด้วยวิธีทัศน ศึกษาแบบบูรณาการ รายวิชา งานห้องผ้าและ ซักรีด ของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 2 สาขาการโรงแรม.
นางสาวนันท์นภัส นาราช วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ชื่อเรื่อง ผู้วิจัย นางชลิตา บุญวันท์ การฝึกทักษะการพิมพ์ด้วยการใช้โปรแกรม เกมคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปวช.1.
ชื่อเรื่อง ความคิดเห็นที่มีต่อการเรียนการ สอน สาขาวิชาการจัดการทั่วไป ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง ผู้วิจัย นางเยาวลักษณ์ อา ลักษณสุวรรณ.
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน
นักศึกษาขาดทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ในด้านการจำแนกสาร และสมบัติของสาร นักศึกษาไม่สามารถจำแนกชนิด ของสารได้ นักศึกษาไม่สามารถบอกสมบัติของ สารชนิดต่างๆได้
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเขียนตัวอักษร จีนโดยใช้แบบฝึกการเขียนตามลำดับขีดของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ผู้วิจัย วิชชุดา โรจนสวัสดิ์วงศ์
วิชา เครื่องวัดไฟฟ้า รหัส
รายงานการวิจัย เรื่อง การพัฒนาทักษะการใช้เวอร์เนียร์ไฮเกจ ร่างแบบชิ้นงานโดยใช้ชุดฝึกทักษะ วิชางานฝึกฝีมือ ของนักเรียนช่างไฟฟ้า สาขางานไฟฟ้ากำลัง ชั้นปีที่
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การศึกษาความรู้ทางคณิตศาสตร์ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ และความคิดเห็นเกี่ยวกับการเรียนการสอนของนิสิตนักศึกษาครุศาสตร์ ศึกษาศาสตร์ วิชาเอกคณิตศาสตร์ นางสาวจิรวัฒน์ จตานนท์ วิทยานิพนธ์ ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษาคณิตศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2554

ขอบเขตงานวิจัย วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความรู้ทางคณิตศาสตร์ ทักษะ และกระบวนการทางคณิตศาสตร์ และความคิดเห็น เกี่ยวกับการสอนของนิสิตนักศึกษาครุศาสตร์ ศึกษาศาสตร์ วิชาเอกคณิตศาสตร์ ประชากรคือนิสิตนักศึกษาที่ศึกษาอยู่ในหลักสูตรครุศา สตรบัณฑิตและการศึกษาบัณฑิต วิชาเอกคณิตศาสตร์ (เอกเดี่ยว) ชั้นปีที่ 3 ของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ในเขตกรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย เป็นการสุ่มแบบเจาะจง (Purposive sampling) เป็นนิสิตนักศึกษาที่ศึกษาอยู่ใน หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิตและการศึกษาบัณฑิต วิชาเอกคณิตศาสตร์ (เอกเดี่ยว) ชั้นปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554 ของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 8 สถาบัน ได้แก่ จุฬาฯ มก มศว จันทร เกษม ธนบุรี บ้านสมเด็จ พระนคร และสวนสุนันทา จำนวนทั้งสิ้น 322 คน

ขอบเขตงานวิจัย ตัวแปรที่ศึกษา ความรู้ทางคณิตศาตร์ ความรู้เชิงมโนทัศน์ ความรู้เชิงกระบวนการ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ ด้านการให้เหตุผล การให้เหตุผลแบบอุปนัย การให้เหตุผลแบบนิรนัย ด้านการสื่อสาร สื่อความหมายทางคณิตศาสตร์และการนำเสนอ ความคิดเห็นเกี่ยวกับการเรียนการสอน ด้านเนื้อหา ด้านกระบวนการเรียนการสอน ด้านสื่อ เทคโนโลยี และนวัตกรรม ด้านการวัดและประเมินการเรียนรู้

ขอบเขตงานวิจัย เนื้อหาที่ใช้ในการวิจัย เป็นเนื้อหาตามหลักสูตร การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 กลุ่ม สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ช่วงชั้นที่ 4 ทั้ง 5 สาระที่เป็นองค์ความรู้คณิตศาสตร์รวมถึงสาระ แคลคูลัสและวิยุตคณิต เนื่องด้วยนิสิตนักศึกษาที่ เป็นประชากรและกลุ่มตัวอย่างในครั้งนี้เป็นผู้เรียนที่ ผ่านการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ตามหลักสูตรดังกล่าว

เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัย แบบวัดความรู้ทางคณิตศาสตร์ เป็นแบบเลือกตอบ 4 ตัวเลือก ความรู้เชิงมโนทัศน์ (สร้าง 24 ข้อ ใช้จริง 16 ข้อ) ความรู้เชิงกระบวนการ (สร้าง 24 ข้อ ใช้จริง 16 ข้อ) ค่าความเที่ยง .78 ค่าความยากง่าย 0.20-0.68 ค่า อำนาจจำแนก 0.21-0.56 แบบวัดทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ ด้านการให้เหตุผล การให้เหตุผลแบบอุปนัย (สร้าง 3 ข้อ ใช้จริง 2 ข้อ) การให้เหตุผลแบบนิรนัย (สร้าง 3 ข้อ ใช้จริง 2 ข้อ) ค่าความเที่ยง .73 ค่าความยากง่าย 0.48-0.75 ค่า อำนาจจำแนก 0.40-0.65 ด้านการสื่อสาร (สร้าง 6 ข้อ ใช้จริง 4 ข้อ) ค่าความเที่ยง .77 ค่าความยากง่าย 0.38-0.70 ค่า อำนาจจำแนก 0.35-0.60

เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัย ความคิดเห็นเกี่ยวกับการเรียนการสอน (แบบมตราส่วน ประเมินค่า 4 ระดับ สร้าง 32 ข้อ ใช้จริง 22 ข้อ ค่าความเที่ยง 0.886)

ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ความรู้ทางคณิตศาสตร์ ตัวแปร คะแนนเต็ม ค่าเฉลี่ย SD ความรู้ทางคณิตศาสตร์ 32 12.12 3.827 - ความรู้เชิงมโนทัศน์ 16 5.84 2.20 - ความรู้เชิงกระบวนการ 6.23 2.41

ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ ทักษะและกระบวนการฯ คะแนนเต็ม ค่าเฉลี่ย SD ทักษะการให้เหตุผล 40 15.20 9.55 - อุปนัย 20 7.52 5.62 - นิรนัย 7.68 5.47 ทักษะการสื่อสาร 48 9.76 9.21

อภิปรายผล หลักสูตรที่เรียน มีรายวิชาที่เน้นทักษะและ กระบวนการน้อยเกินไป นศ.อาจขาดการคิดวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ ของข้อมูลที่กำหนดให้

ตัวอย่างแบบวัด แบบวัดความรู้เชิงมโนทัศน์

ตัวอย่างแบบวัด แบบวัดความรู้เชิงกระบวนการ

ตัวอย่างแบบวัด แบบวัดด้านการให้เหตุผล

ตัวอย่างแบบวัด แบบวัดด้านการสื่อสาร