การศึกษาความรู้ทางคณิตศาสตร์ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ และความคิดเห็นเกี่ยวกับการเรียนการสอนของนิสิตนักศึกษาครุศาสตร์ ศึกษาศาสตร์ วิชาเอกคณิตศาสตร์ นางสาวจิรวัฒน์ จตานนท์ วิทยานิพนธ์ ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษาคณิตศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2554
ขอบเขตงานวิจัย วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความรู้ทางคณิตศาสตร์ ทักษะ และกระบวนการทางคณิตศาสตร์ และความคิดเห็น เกี่ยวกับการสอนของนิสิตนักศึกษาครุศาสตร์ ศึกษาศาสตร์ วิชาเอกคณิตศาสตร์ ประชากรคือนิสิตนักศึกษาที่ศึกษาอยู่ในหลักสูตรครุศา สตรบัณฑิตและการศึกษาบัณฑิต วิชาเอกคณิตศาสตร์ (เอกเดี่ยว) ชั้นปีที่ 3 ของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ในเขตกรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย เป็นการสุ่มแบบเจาะจง (Purposive sampling) เป็นนิสิตนักศึกษาที่ศึกษาอยู่ใน หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิตและการศึกษาบัณฑิต วิชาเอกคณิตศาสตร์ (เอกเดี่ยว) ชั้นปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554 ของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 8 สถาบัน ได้แก่ จุฬาฯ มก มศว จันทร เกษม ธนบุรี บ้านสมเด็จ พระนคร และสวนสุนันทา จำนวนทั้งสิ้น 322 คน
ขอบเขตงานวิจัย ตัวแปรที่ศึกษา ความรู้ทางคณิตศาตร์ ความรู้เชิงมโนทัศน์ ความรู้เชิงกระบวนการ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ ด้านการให้เหตุผล การให้เหตุผลแบบอุปนัย การให้เหตุผลแบบนิรนัย ด้านการสื่อสาร สื่อความหมายทางคณิตศาสตร์และการนำเสนอ ความคิดเห็นเกี่ยวกับการเรียนการสอน ด้านเนื้อหา ด้านกระบวนการเรียนการสอน ด้านสื่อ เทคโนโลยี และนวัตกรรม ด้านการวัดและประเมินการเรียนรู้
ขอบเขตงานวิจัย เนื้อหาที่ใช้ในการวิจัย เป็นเนื้อหาตามหลักสูตร การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 กลุ่ม สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ช่วงชั้นที่ 4 ทั้ง 5 สาระที่เป็นองค์ความรู้คณิตศาสตร์รวมถึงสาระ แคลคูลัสและวิยุตคณิต เนื่องด้วยนิสิตนักศึกษาที่ เป็นประชากรและกลุ่มตัวอย่างในครั้งนี้เป็นผู้เรียนที่ ผ่านการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ตามหลักสูตรดังกล่าว
เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัย แบบวัดความรู้ทางคณิตศาสตร์ เป็นแบบเลือกตอบ 4 ตัวเลือก ความรู้เชิงมโนทัศน์ (สร้าง 24 ข้อ ใช้จริง 16 ข้อ) ความรู้เชิงกระบวนการ (สร้าง 24 ข้อ ใช้จริง 16 ข้อ) ค่าความเที่ยง .78 ค่าความยากง่าย 0.20-0.68 ค่า อำนาจจำแนก 0.21-0.56 แบบวัดทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ ด้านการให้เหตุผล การให้เหตุผลแบบอุปนัย (สร้าง 3 ข้อ ใช้จริง 2 ข้อ) การให้เหตุผลแบบนิรนัย (สร้าง 3 ข้อ ใช้จริง 2 ข้อ) ค่าความเที่ยง .73 ค่าความยากง่าย 0.48-0.75 ค่า อำนาจจำแนก 0.40-0.65 ด้านการสื่อสาร (สร้าง 6 ข้อ ใช้จริง 4 ข้อ) ค่าความเที่ยง .77 ค่าความยากง่าย 0.38-0.70 ค่า อำนาจจำแนก 0.35-0.60
เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัย ความคิดเห็นเกี่ยวกับการเรียนการสอน (แบบมตราส่วน ประเมินค่า 4 ระดับ สร้าง 32 ข้อ ใช้จริง 22 ข้อ ค่าความเที่ยง 0.886)
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ความรู้ทางคณิตศาสตร์ ตัวแปร คะแนนเต็ม ค่าเฉลี่ย SD ความรู้ทางคณิตศาสตร์ 32 12.12 3.827 - ความรู้เชิงมโนทัศน์ 16 5.84 2.20 - ความรู้เชิงกระบวนการ 6.23 2.41
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ ทักษะและกระบวนการฯ คะแนนเต็ม ค่าเฉลี่ย SD ทักษะการให้เหตุผล 40 15.20 9.55 - อุปนัย 20 7.52 5.62 - นิรนัย 7.68 5.47 ทักษะการสื่อสาร 48 9.76 9.21
อภิปรายผล หลักสูตรที่เรียน มีรายวิชาที่เน้นทักษะและ กระบวนการน้อยเกินไป นศ.อาจขาดการคิดวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ ของข้อมูลที่กำหนดให้
ตัวอย่างแบบวัด แบบวัดความรู้เชิงมโนทัศน์
ตัวอย่างแบบวัด แบบวัดความรู้เชิงกระบวนการ
ตัวอย่างแบบวัด แบบวัดด้านการให้เหตุผล
ตัวอย่างแบบวัด แบบวัดด้านการสื่อสาร