กรณีศึกษา : งานบริหารและธุรการ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รายละเอียดวิชา ง การงานพื้นฐาน4(คอมพิวเตอร์2)
Advertisements

กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี โรงเรียนมัธยมวานรนิวาส
ของสถาบันวิจัยและพัฒนา นำเสนอโดย นางดารณี คำสวัสดิ์
ดนตรีไทยวงเครื่องสายบนโทรศัพท์มือถือ Siam String Musical on Mobile
ขั้นตอนการลงทะเบียนหนังสือส่ง (โดยภาพรวม)
ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์
ประชุมคณะกรรมการตรวจรับงานฯ คณะที่ปรึกษาโครงการ AM/FM/GIS
Contents ที่มาของปัญหา วัตถุประสงค์ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
การพัฒนาระบบสืบค้นข้อมูลกฎหมาย สำหรับนายอำเภอ
The Development of Document Management System with RDF
แผนการสอน วิชา Database Design and Development
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
หน่วย 6 การพัฒนาสารสนเทศ
หน่วยส่งเสริมและพัฒนาทางวิชาการ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร.
Lecture 8 Database Output (Form and Report Design)
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การขุดค้นข้อมูล (Data Mining)
กลไกทำงานเพื่อสนับสนุน การยืมระหว่างห้องสมุด ของเครือข่าย ThaiLIS
จดหมายเหตุมหาวิทยาลัยอิเล็กทรอนิกส์ กับระบบห้องสมุดอัตโนมัติ
เกดิษฐ เกิดโภคา สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร
ระบบย่อยของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
การวางแผนและการดำเนินงาน
ระบบข้อสอบออนไลน์.
Management Information Systems
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปริศนา มัชฌิมา
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
Thai Handwritten Character Recognition by Artificial Neural Networks
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
หน่วยที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย
Thai Handwritten Character Recognition by Artificial Neural Networks
เทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยี + สารสนเทศ.
ความหมาย ปัญญาประดิษฐ์
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
การศึกษาเปรียบเทียบระบบการแจ้งซ่อมเครื่องคอมพิวเตอร์ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาปี 2553 A Comparative.
โปรแกรมจำแนกรุ่นรถยนต์โครงสร้างแบบ Relative bag of words (รุ่นสอง)
ระบบช่วยสนับสนุนการตัดสินใจเลือกรถขนส่ง
การพัฒนาระบบค้นคืนเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ สำหรับงานสารบรรณ
โมเดลพยากรณ์ ราคายางแผ่นดิบ
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
บทที่ 3 กระบวนการแสวงหาและนำเสนอสารสนเทศ
ชี้แจงวัตถุประสงค์ เนื้อหารายวิชา และหลักเกณฑ์ในการวัดผล
การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
กระบวนการสอบถามข้อมูล
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานในการ พัฒนาระบบ
หลักสูตร บัณฑิต สาขาวิชา หลักสูตรใหม่ พ. ศ คณะ / วิทยาลัย
การวิจัยในชั้นเรียนด้านอาชีวศึกษา
การออกแบบฐานข้อมูลและการบริหารธุรกิจ
การบริหารสำนักงาน ด้วยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
การพัฒนาระบบสารสนเทศ:องค์กรขนาดเล็ก
การพัฒนาระบบการเรียนทางไกลให้อยู่ในรูปแบบของเทคโนโลยีสารสนเทศ Application of Information Technology System into Distance Learning Presented by: Sunadda.
ตัวอย่าง ระบบคลังหนังสือ (Book Stock System)
การทำผลงานวิชาการ สงวนลิขสิทธิ์.....โดย ดร.สุรชาติ สังข์รุ่ง.
วิธีดำเนินการพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
กระบวนการวิจัย Process of Research
โปรแกรมฐานข้อมูลที่นิยมใช้
บทที่ 2 การจัดการสารสนเทศ.
รศ. ดร. นิตยา เจรียงประเสริฐ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ผู้เข้าร่วมโครงการ Site Visit ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ
สารานุกรมการศึกษา (The Encyclopedia of Education) ให้ความหมายไว้ว่า คือ “การจัดการสืบค้นอย่างมีระบบเกี่ยวกับการศึกษาและผลผลิตที่ได้รับจากการศึกษา”
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
การพัฒนาการเรียนรู้รายวิชาการโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วย e-Learning
นางมลิวรรณ สมบุญโสด ผู้วิจัย
15. การวิจัยเชิงสำรวจ Survey Research.
การวิจัยการสื่อสารการตลาด (AMC2202)
Dissertation Full text เป็นการ สืบค้นด้วยระบบ IR-Web โดยมีขอบเขต เนื้อหา เป็นฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์ฉบับเต็ม อิเล็กทรอนิกส์ 3,850 ชื่อเรื่อง ที่สำนักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา.
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
บทที่ 4 ข้อเสนอโครงการวิจัย
นายรัชภูมิ เกื้อภักดิ์ รหัสนักศึกษา อาจารย์ที่ปรึกษา ดร. อนันท์ ชกสุริวงศ์ ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กรณีศึกษา : งานบริหารและธุรการ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ต้นแบบออนโทโลยีเพื่อการค้นคืนสารสนเทศเชิงความหมาย สำหรับงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ กรณีศึกษา : งานบริหารและธุรการ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ นางสาวจุฑาวรรณ สิทธิโชคสถาพร รหัสนักศึกษา 5210121018 อาจารย์ที่ปรึกษา : ดร.อนันท์ ชกสุริวงศ์

ความสำคัญและที่มาของงานวิจัย งานสารบรรณ = การบริหารงานเอกสาร (จัดทำ รับ ส่ง เก็บรักษา ยืม ทำลาย) งานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ = การรับส่งข้อมูลข่าวสารหรือหนังสือผ่านระบบสื่อสารด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ เอกสารกระดาษจำนวนมาก Electronic files File System ถูกแปลง จัดเก็บ Database ยุคของงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ (e-Saraban) กระบวนการผลิต การรับ‑ส่ง รวมถึงการจัดเก็บ ช่วยให้เกิดความสะดวก รวดเร็วในการปฏิบัติงาน ลดปริมาณการใช้กระดาษ และพื้นที่ในการจัดเก็บเอกสาร รูปแบบการค้นหาปรับเปลี่ยน (การค้นหาที่ไม่มีความสัมพันธ์เชิงความหมาย ทำให้ได้ข้อมูลที่ไม่ครบถ้วน) ปรับเปลี่ยน รูปแบบการค้นหา ตรงตามความต้องการของผู้ใช้ ? ฐานข้อมูลขนาดใหญ่ มีเอกสารหลายรูปแบบ

วัตถุประสงค์ 1. สร้างต้นแบบออนโทโลยีเพื่อการค้นคืนสารสนเทศ เชิงความหมาย สำหรับงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ 2. สร้างรูปแบบข้อมูลเชิงความหมายสำหรับองค์ความรู้ ตามแนวคิดออนโทโลยี 3. พัฒนาการค้นคืนเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถค้นคืน ได้อย่างถูกต้อง และตรงกับความต้องการของผู้ใช้

ประโยชน์จากงานวิจัย 1. พัฒนาต้นแบบออนโทโลยีได้เหมาะสมสำหรับงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ 2. รูปแบบข้อมูลเชิงความหมายที่เหมาะสมสำหรับงานสาร-บรรณอิเล็กทรอนิกส์ 3. ผู้ใช้สามารถสืบค้นเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ได้ตรงตามต้องการ 3. สามารถนำไปประยุกต์ใช้กับการบริหารจัดการงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ของหน่วยงานภาครัฐอื่น ๆ

งานวิจัยและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง Matching Technique Full-Text search Keyword search Semantic search การค้นหาแบบ full-text search การค้นหาแบบ keyword search - แสดงผลลัพธ์เฉพาะที่ได้จากการเปรียบเทียบคำค้นที่ผู้ใช้ระบุเท่านั้น การค้นหาแบบ semantic search นำคำค้นของผู้ใช้ไปเปรียบเทียบ และเชื่อมโยงไปยังข้อมูลทั้งหมดที่มีความสัมพันธ์กัน ค้นหาสารสนเทศโดย ontology เป็นส่วนหนึ่งของการค้นหาเชิงความหมาย Ontology Technology

โครงสร้างระบบงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ 4. ค้นหา 1.รับข้อมูล ฐานข้อมูล 5. แสดงผล 2. สร้างตัวแทนเอกสาร 6. รายงาน รับข้อมูล : ผู้ใช้บันทึกรายการเอกสาร + เอกสารแนบ เข้าสู่ระบบ สร้างตัวแทนสำหรับเอกสารแต่ละรายการ จัดทำดัชนีของเอกสาร โดยการจัดกลุ่มเพื่อจัดเก็บและสะดวกต่อการค้นหา นำมาใช้งาน ค้นหาเอกสารจากคำสำคัญหรือคำค้น ระบบแสดงรายการเอกสารที่สอดคล้องกับคำค้น การแสดงและพิมพ์รายงานตามความต้องการของผู้ใช้ การติดตามเอกสาร สถานการณ์ดำเนินการต่าง ๆ 3. จัดทำดัชนี 7. ติดตาม

การสร้างตัวแทนเอกสาร จัดทำดัชนี และค้นคืน Transaction + Electronic documents Document Representation Indexing Database (Ontology-Based) Searching Query Result lists Retrieve Text Processing

หลักการและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง ระบบค้นคืนเอกสารสารสนเทศ (Information Retrievals System : IRS) ประมวลผลเอกสาร (Document Operations) สร้างตัวแทนเอกสารหรือดัชนี (Index or Document Representation) ประมวลผลคำค้น (Query Operations) สร้างตัวแทนคำค้น (Query Representation) ค้นคืนเอกสาร (Searching)

การประมวลผลภาษาธรรมชาติ (NLP: Natural Language Processing) การตัดคำ Word segmentation การกำกับหน้าที่ของคำ (Word segmentation and Part-Of Speech tagging) การวิเคราะห์นิพจน์ระบุนาม (Name Entity Analysis) การวิเคราะห์นามวลี (Phrase Analysis)

สร้างตัวแทนเอกสาร (Document Representation) โดยอาศัย ทฤษฎี Ontology = เทคโนโลยีด้านการพัฒนาภาษาเชิงความหมาย เพื่อให้เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถตีความหมาย และทำตามคำสั่งได้ อธิบายแนวคิดตามขอบเขต (Domain) ที่สนใจ กำหนดคุณสมบัติ และความสัมพันธ์ ตัวอย่าง: ออนโทโลยีเกี่ยวกับพืช สิริรัตน์ ประกฤติกรชัย, 2550

การจัดทำดัชนี (Indexing) รูปแบบของเอกสารปกติ ระบบดัชนี รวดเร็ว ง่ายต่อการคืนค้น ตัวอย่างเช่น Inverted Index

กระบวนการวิจัย ส่วนการสร้างออนโทโลยีและข้อมูลเชิงความหมาย............................................. รูปแบบเอกสาร ไม่สามารถประมวลผลข้อความได้ (Scan files) สามารถประมวลผลข้อความได้ (PDF files, Office Document) การสร้างออนโทโลยีสำหรับงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ สร้างข้อมูลเชิงความหมาย จัดระเบียบข้อมูลเชิงความหมายโดยพิจารณาค่าน้ำหนักความสัมพันธ์ การจัดทำดัชนี ส่วนการทดสอบการค้นคืน พัฒนาแอพพลิเคชั่นทดสอบการค้นคืน ................. กระบวนการวิจัย ตามขอบเขตงาน ส่วนการสร้างออนโทโลยีและข้อมูลเชิงความหมาย รวบรวมข้อมูลที่นำมาพัฒนาออนโทโลยีจากแหล่งข้อมูลที่เป็นเอกสารจากการสแกน และเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ ของงานบริหารและธุรการ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ข้อมูลเชิงความหมายที่ใช้เป็นองค์ความรู้ออนโทโลยีเป็นข้อมูลชนิดที่มีโครงสร้าง (Structured Data) โดยการออกแบบฐานข้อมูลเชิงความสัมพันธ์ (Relational Database : RDB) ตามแนวคิดออนโทโลยี ผู้ใช้เป็นผู้กรอกข้อมูล/ตัวแทนเอกสารเพื่อสร้างข้อมูลเชิงความหมาย ตามรูปแบบที่กำหนดโดยพิจารณาแนวคิดออนโทโลยี จัดระเบียบข้อมูลเชิงความหมายโดยพิจารณาค่าน้ำหนักความสัมพันธ์เกี่ยวข้องของข้อมูล เพื่อจัดเข้าหมวดหมู่ที่สอดคล้องกับการจัดเก็บเอกสารและความต้องการใช้งานขององค์กร ส่วนการทดสอบการค้นคืน โดยแสดงรายการเอกสารค้นคืนเรียงตามลำดับความเกี่ยวข้อง

ออนโทโลยีสำหรับ งานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ ต้นแบบออนโทโลยี ออนโทโลยีสำหรับ งานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์

แผนการดำเนินงาน ขั้นตอน 2553 2554 2555 ศึกษาข้อมูลและสำรวจปัญหา 8 9 10 11 12 1 2 3 4 5 6 7 ศึกษาข้อมูลและสำรวจปัญหา 2. วิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้ 3. ออกแบบระบบ และฐานข้อมูล 4. พัฒนาระบบ 5. ทดลองและ ประเมินผล 6. เสนอผลการดำเนินงานและ ส่งมอบ

คำถาม/ข้อเสนอแนะ