สวัสดีครับ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การปรับแนวคิดพื้นฐานเรื่องการ สนับสนุนของกองทุนฯตำบล รูป แบบเดิม รูปแบบ ใหม่
Advertisements

ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
ความคาดหวัง/สิ่งที่อยากเห็น วัยรุ่นจังหวัดนครนายก
การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
ความคาดหวัง/สิ่งที่อยากเห็น วัยรุ่นจังหวัดปราจีนบุรี
การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๖ Service Plan บริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ สุขภาพองค์รวม ทพ.อนุโรจน์ เล็กเจริญสุข ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ.
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์การพัฒนาอนามัยเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น
การประชุมเชิงปฏิบัติการสร้างและใช้ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
ตามแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์(SRM) สู่การ ปฏิบัติการในพื้นที่
ประเด็นยุทธศาสตร์ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ดื่มน้ำสะอาด
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
การเชื่อมโยงการส่งเสริมสุขภาพระหว่าง
โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน (รนสช.)
ความหมายและกระบวนการ
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
แผนปฏิบัติการสาธารณสุข ปีงบประมาณ ๒๕๕๖. ประเด็นพูดคุย พิจารณาร่างคณะทำงาน กำหนดแนวทางการประชุมกลุ่มตาม ประเด็นยุทธศาสตร์ แบบฟอร์ม กำหนดวันประชุมกลุ่ม.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
สรุปผลการจัดทำ(ร่าง)แผนยุทธศาสตร์(พ.ศ )
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
การประชุมเชิงปฏิบัติการใช้ค่ากลาง
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
การสำรวจหา ค่ากลาง นโยบายรัฐบาล เรื่องการพัฒนาสุขภาพของ ประชาชน ประกาศเมื่อ 23 สิงหาคม จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมี เป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
กำหนดเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ
กลุ่ม น้ำบริโภคสะอาด ปลอดภัย เพียงพอ
การปรับแนวคิดพื้นฐานเรื่องการ สนับสนุนของกองทุนฯตำบล รูป แบบเดิม รูปแบบ ใหม่
การสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ปฏิบัติการย่อย (Mini-SLM)
การสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ทิศทาง การทำงาน๒๕๕๔ นพ.นิทัศน์ รายยวา 1.
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 นพ. นิทัศน์ รายยวา ผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข.
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
วัยรุ่นมีพฤติกรรมที่เหมาะสม หญิงตั้งครรภ์มีพฤติกรรมที่เหมาะสม
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ(SLM) ร่วมสองกรม
วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์
คำแนะนำการใช้ SLM ร่วมระหว่าง กรมอนามัยและควบคุมโรค  การจัดการทั่วไป 1. สสจ. จัดประชุมเพื่อพัฒนา SLM ร่วมเพิ่มเติม ผู้ เข้าประชุมประกอบด้วยคณะผู้แทนศูนย์อนามัย.
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
เพิ่มภาพ แผนที่ตำบล หรือภาพกิจกรรมชมรมสูงอายุในพื้นที่
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
บทบาท อสม.เชิงรุก ๑. เป็นผู้นำทางความคิดและผู้นำทางด้านสุขภาพในระดับชุมชน ในการลดโรค ๕ โรคสำคัญที่เป็นสาเหตุการตายลำดับต้นๆของประชาชน คือ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง.
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ผังจุดหมายปลายทาง การพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (PP) กองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่น และเทศบาลเมืองรังสิต จ.ปทุมธานี ภายในปี พ.ศ
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
(Evaluation) มุมมองประชาชน มุมมองภาคี (Stakeholder) มุมมองกระบวนการ
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
หน่วยงานภาครัฐ, อปท. และเอกชนมีสนับสนุน งบประมาณ, ประสานงาน กัน อย่างต่อเนื่องและ เข้มแข็ง ( นาจอมเทียน, บางเสร่, พูลตาหลวง, แสมสาร, สัตหีบ ) มีระบบข้อมูลที่มี
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
ทำแผนที่ทางเดินยุทธศาตร์ของ แกนนำชุมชน เทศบาลสนับสนุน งบประมาณอย่างเต็มที่ เครือข่ายชุมชน วัด โรงเรียนมีบทบาทในการ ดำเนินงานด้านสุขภาพ ใช้แผนที่ยุทธสาสตร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สวัสดีครับ

พัฒนาบริการ มุ่งมั่นบริหาร ประสานภาคีและชุมชน รวมพลสร้างสุขภาพ

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขาวงกต

การพัฒนางานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค เบาหวาน - ความดันโลหิตสูง ด้วยแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์

จุดหมายปลายทางการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เบาหวาน-ความดัน จุดหมายปลายทางการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เบาหวาน-ความดัน ภาคประชาชน ประชาชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเรื่องเบาหวาน-ความดัน ประชาชนมีโครงการป้องกันโรคเบาหวาน-ความดัน ประชาชนมีระบบเฝ้าระวังและป้องกันตนเอง ชุมชนมีมาตราการทางสังคมและวัฒนธรรม  

จุดหมายปลายทางการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เบาหวาน-ความดัน จุดหมายปลายทางการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เบาหวาน-ความดัน ภาคภาคีเครือข่าย อ.บ.ต. มีการสนับสนุนงบประมาณมากขึ้นและต่อเนื่อง อสม. จัดตรวจคัดกรอง และแสดงบทบาทหน้าที่ ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ภาคีเครือข่ายสนับสนุนทรัพยากร

จุดหมายปลายทางการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เบาหวาน-ความดัน จุดหมายปลายทางการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เบาหวาน-ความดัน   ภาครากฐาน ชุมชน บุคลากร และองค์กรมีศักยภาพในการทำงาน ชุมชนมีข้อมูลครบถ้วนและเทคโนโลยีที่ที่ทันสมัย ชุมชนมีโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชนเพื่อใช้เป็นเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ องค์กรมีการทำงานเป็นระบบและมีประสิทธิภาพในเรื่องเบาหวาน-ความดัน

จุดหมายปลายทางการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เบาหวาน-ความดัน จุดหมายปลายทางการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เบาหวาน-ความดัน ภาคกระบวนการ มีการวางแผนงานร่วมกันอย่างต่อเนื่อง จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง สร้างระบบการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพทันสมัย การบริหารงานและทรัพยากรมีประสิทธิภาพ และโปร่งใส มีการใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ในการดำเนินงาน

แผนปฏิบัติการพื้นฐาน เพื่อการป้องกันโรค เบาหวาน - ความดันโลหิตสูง แผนปฏิบัติการพื้นฐาน เพื่อการป้องกันโรค เบาหวาน - ความดันโลหิตสูง

แผนปฏิบัติการพื้นฐาน การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการป้องกัน โรคเบาหวาน - ความดัน ชุมชนมีโครงการป้องกันโรค เบาหวาน – ความดัน ชุมชนมีการเฝ้าระวังป้องกัน ชุมชนมีมาตรการทางสังคม อปท ร่วมสนับสนุนทรัพยากร/งบประมาณ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ (ร.ร.นวัตกรรมสุขภาพชุมชน) พัฒนาศักยภาพทีมงาน 11

3 ช่องของแผนปฏิบัติการที่กำลังดำเนินการ และบางส่วนทำสำเร็จรูปแล้ว 3 ช่องของแผนปฏิบัติการที่กำลังดำเนินการ และบางส่วนทำสำเร็จรูปแล้ว

เป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์ กลยุทธ์สำคัญ กิจกรรมสำคัญ 1.กลุ่มเป้าหมายปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์/พฤติกรรม พัฒนา อสม./แกนนำในการเฝ้าระวังคัดกรองเบหวานความดัน 1.1 ติดตามพฤติกรรมด้วยตัวชี้วัดที่เหมาะสม 1.2 แลกเปลี่ยนเรียนรู้ 2.ชุมชนมีโครงการของชุมชน 2.1ปรับกระบวนการสร้างแผนตำบล2.2สร้างโครงการใหม่ๆ 2.1.1ใช้แผนที่ฯสร้างแผนตำบลในเรื่องปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของกลุ่มเป้าหมายเบาหวานความดัน 3.ชุมชนมีมาตรการทางสังคม 3.1พัฒนามาตรการสังคม 3.1.1จัดเวทีเพื่อสร้างและดำเนินมาตรการทางสังคม 4.ชุมชนมีระบบเฝ้าระวัง คัดกรอง 4.1พัฒนา อสม./แกนนำให้สามารถคัดกรอง เฝ้าระวัง 4.1.1 อสม/แกนนำฝึกอบรมในโรงเรียนนวัตกรรม 5.ระบบสื่อสาร สารสนเทศมีประสิทธิภาพ 5.1สร้างระบบสื่อสารด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของกลุ่มเป้าหมายเบาหวานความดันโลหิตสูง 5.1.1พัฒนาสื่อสาธารณะ เพื่อการสื่อสารด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของกลุ่มเป้าหมายเบาหวานความดันโลหิตสูง 6.บุคลากร/แกนนำมีสมรรถนะ 6.1สร้าง รร.นวัตกรรมสุขภาพฯ 6.2เปิดโรงเรียนฯ 6.1.1ตั้งโรงเรียน 6.1.2เปิดการเรียนการสอน 7.อปท.ร่วมตัดสินใจขับเคลื่อนและสนับสนุนฯ ทำความตกลงระหว่างสาขา 7.1.1สร้างบันทึกข้อตกลงระหว่างสาขา 7.1.2กำหนดประเด็นสุขภาพ

การขับรถทางไกลๆนั้นถ้าเรามีแผนที่หรือ GPRS ช่วยนำทาง ก็จะสามารถถึงไปถึงจุดหมายได้เร็วประหยัดทั้งเวลาและเชื้อเพลิงเปรียบเสมือนการทำงานด้านสุขภาพในสมัยนี้ที่นำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์มาเป็นตัวกำหนดนั้นทำให้การทำงานมีประสิทธิภาพและผลการดำเนินงานนั้นดีขึ้น

สวัสดีค่ะ