ประเด็นที่ 2 การศึกษาในปัจจุบันช่วยเยาวชนในการแก้ปัญหาชุมชนได้ อย่างไร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา
Advertisements

สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
หน้าที่ของสื่อมวลชน : Lasswell
สรุปข้อเสนอแนะ กลุ่มผู้แทนหน่วยงานภาครัฐ เครือข่ายการมีส่วนร่วมภาคประชาชนระดับภูมิภาค.
Intel ® Teach Essential Course V10.1
สรุปภาพรวมการเรียนรู้
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน Joseph Jacobs
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
สรุปภาพรวมการเรียนรู้ เรื่อง หมุนเวลาพาเพลิน
การใช้คอมพิวเตอร์ในชีวิตประจำวัน
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
 การสอนแบบอภิปราย.
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
กิจกรรมถอดสกัดความรู้
การทำงานสนับสนุนงาน PP ของศูนย์วิชาการเขต
การเตรียมการนำเสนอผลงานของ PCT และระบบสำคัญ
โครงการสร้างสำนึกพลเมือง (Project Citizen)
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสัมมนา
บทบาทของโรงเรียน ในการนำการเปลี่ยนแปลงมาสู่ชุมชน
สถานี รู้เรา รู้เขา. ๑ เรียนรู้สถานการณ์ ปัญหาอนามัย การเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น ๒ แนวทางอนามัยการ เจริญพันธุ์ใน วัยรุ่น ๓ ความรู้และทักษะที่วัยรุ่น ความ.
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
ขั้นตอนที่ 5 การนำเสนอแฟ้มผลงาน (Portfolio)
การนำเสนอแฟ้มผลงานรับฟังความคิดเห็น (ประชาพิจารณ์)
ขั้นตอนที่ 5(การนำเสนอแฟ้มผลงาน) โรงเรียนบุญวาทย์วิทยาลัย จังหวัดลำปาง
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
Communities of Practice (CoP)
ความก้าวหน้าการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สูการปฏิบัติ
ความก้าวหน้าการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สูการปฏิบัติ
ระบบเอกสารคุณภาพ เนาวรัตน์ เสียงเสนาะ สอิด
แนวทางการเสริมพลังใจ บุคลากรสาธารณสุข
การประชุมเชิงปฏิบัติการ
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
การเรียนรู้แบบโครงการ บูรณาการกระบวนการกลุ่ม
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบการทำโครงงาน
Road Map KM 2551.
R2R ในโรงพยาบาลสำเร็จ ได้อย่างไร
ยุทธศาสตร์ที่ 2: ลดปัจจัยเสี่ยงในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น นำ KM ไปใช้ 1. ระดับศูนย์เขต 1.1 เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เสริมสร้างศักยภาพ ชมรมเด็กไทยทำได้ วันที่
ผู้เป็นแกนบุญของชุมชน
Since born up to 18 years old
การเรียนรู้ของทีม Team Learning
งาน 1 : สรุป และนำเสนอ. 1. สถานการณ์ ที่มาและความสำคัญ. 2
รูปแบบการสอน.
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
การใช้ KM ขับเคลื่อนในการทำงานที่น่าน
การจัดการ ความรู้ กองแผนงาน. 1. ทีมงาน KM ซึ่งแต่งตั้งในปี 2549 เป็น แกนนำหลักในการดำเนินการเพื่อความต่อเนื่อง 2. ประเมินผลการดำเนินการในปี 2549 และนำเสนอผลการประเมินเพื่อหารือในที่
หน่วยที่ 5 ศูนย์บริการคอมพิวเตอร์พกพาแบบแท็บเล็ต การนิเทศ ติดตาม ประเมินผล วิจัย และ พัฒนาการเรียนการสอนด้วยคอมพิวเตอร์พกพาแบบแท็บเล็ต กลุ่มที่ 5.
บทที่ 11.
การจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน รายวิชาการจัดทำโครงงานด้วยกล่องสมองกล ช่วงชั้นที่ 4 ความหมาย กิจกรรมโครงงาน เป็นกิจกรรมที่เน้นกระบวนการโดยนักเรียนเป็นผู้คิดค้น.
ผู้วิจัย นางสาวจันทรา แซ่หลิม สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ข้อเสนอเชิงนโยบาย  การเตรียมเอกสารวิชาการรับใช้สังคม นักวิชาการยังต้องการ “พี่เลี้ยง” ที่จะช่วยเติม มุมมองด้านวิชาการ มหาวิทยาลัยควรร่วมมือกับ กลไกสนับสนุนที่มีอยู่
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
การออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนในแนว 7 Es
ประมวลผลการเรียนรู้ การพัฒนาหลักสูตร E Learning "นพลักษณ์ฯ ขั้นต้น” 5 มิถุนายน -18 กันยายน 2551 สวทช. นำประสบการณ์จากกิจกรรมเชื่อโยงกับ Core Competency.
ผู้อำนวยกลุ่มการเรียนรู้ (Learning Facilitator)
การเรียนรู้ที่ต้องการพัฒนา
(Supplier-Input-Process-Output-Customer : SIPOC)
08:30-08:45 ตัวแทนโรงเรียนกล่าวเปิดการอบรม แนะนำ วิทยากร วิดีโอ “ ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21” กิจกรรมสันทนาการ 09:00-09:40 แผนที่ชุมชน.
โรงแรมนนทบุรีพาเลซ จังหวัดนนทบุรี 8-9 มีนาคม 2557.
การดักจับความรู้ด้วยเครื่องมือ “AAR”
การบรรยาย การประชุมอบรมเจ้าหน้าที่ธุรการ สพป
ยินดีต้อนรับ ผู้อำนวยการกองพัสดุ และคณะ วันพุธที่ 6 สิงหาคม 2557.
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
สรุปวิธีสอนที่ใช้ในการฝึกอบรม
โดย นายสุรชัย ไตรบรรณ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
การทัศนศึกษา.
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ประเด็นที่ 2 การศึกษาในปัจจุบันช่วยเยาวชนในการแก้ปัญหาชุมชนได้ อย่างไร คำถามประกอบกิจกรรม ประเด็นที่ 1 กระบวนการเรียนการสอนของโครงการสร้างสำนึกพลเมือง (Project Citizen) กับการแก้ปัญหา “ขยะในโรงเรียน” ประเด็นที่ 2 การศึกษาในปัจจุบันช่วยเยาวชนในการแก้ปัญหาชุมชนได้ อย่างไร ประเด็นที่ 3 บทบาทของชุมชน/โรงเรียนจะสนับสนุนให้โครงการสร้าง สำนึกพลเมือง (Project Citizen) ได้อย่างไร ประเด็นที่ 4 ปัจจัยความสำเร็จของโครงการสร้างสำนึกพลเมือง (Project Citizen) ของโรงเรียน

วิธีดำเนินการ Facilitator แบ่งกลุ่มผู้เข้าอบรมเป็น 4 กลุ่ม ๆ ละ 6 คน 1. ให้แต่ละกลุ่มกำหนดผู้อำนวยการกลุ่ม 1 คน (Facilitator)* *หน้าที่: 1. ให้อำนวยการระดมสมองในประเด็นที่กำหนดให้ โดยพยายามกระต้นให้ ทุกคนในกลุ่มแสดงความคิดเห็น โดยผู้ที่สวมบทบาทต้องไม่เสนอความคิดเห็นใด ๆ 2. ให้จดความเห็นที่กลุ่มเสนอลงบน Flip Chart

วิธีดำเนินการ Facilitator (ต่อ) 2. ให้แต่ละกลุ่มระดมสมองในประเด็นดังต่อไปนี้ กลุ่มที่ 1 : ประเด็นที่ 1 กลุ่มที่ 2 : ประเด็นที่ 2 กลุ่มที่ 3 : ประเด็นที่ 3 กลุ่มที่ 4 : ประเด็นที่ 4

วิธีดำเนินการ Facilitator (ต่อ) 4. เมื่อเวลาทำกิจกรรมครบ 40 นาที ให้ตัวแทนกลุ่ม 1 คน มา นำเสนอความเห็นโดยสรุปให้ห้องฟัง กลุ่มละ 5 นาที เมื่อครบทั้ง 4 กลุ่มแล้วให้ผู้เข้าอบรมแลกเปลี่ยน/เสนอความเห็นเพิ่มเติม 5-10 นาที 5. เวลาทำกิจกรรมนี้ใช้ทั้งหมด 1ชั่วโมง15 นาที