การเชื่อมโยงการส่งเสริมสุขภาพระหว่าง สถานบริการ (CUP/PCU) และ ครอบครัว/ชุมชน นพ.สมพงษ์ สกุลอิสริยาภรณ์ ผู้อำนวยการศูนย์อนามัยที่ 3
Bangkok Charter Ottawa Charter Primary Care นโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ การสร้างสิ่งแวดล้อมเพื่อสุขภาพ การสร้างความเข้มแข็งของชุมชน การพัฒนาทักษะส่วนบุคคล การปรับระบบบริการเพื่อสุขภาพ 7th Global Conference of HP Bangkok Charter Ottawa Charter Primary Care การเพิ่มพลังอำนาจชุมชน การรู้เท่าทันสุขภาพ และพฤติกรรมสุขภาพ การสร้างความเข้มแข็งของระบบสุขภาพ การสร้างภาคีและหุ้นส่วนในการดำเนินงาน การสร้างศักยภาพสำหรับการส่งเสริมสุขภาพ การสร้างภาคีเครือข่าย การลงทุนเพื่อสุขภาพ การสร้างกฎ/ข้อบังคับด้านสุขภาพ การสร้างกระแส การพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่าย
ครอบครัว ชุมชน สถานบริการ Health Promotion (ส่งเสริมสุขภาพ) Primary Prevention (การป้องกันระดับปฐมภูมิ) ครอบครัว ชุมชน สถานบริการ Contiuous Care (การดูแลอย่างต่อเนื่อง)
ชมรมผู้สูงอายุส่งเสริมสุขภาพช่องปาก ทันตกรรมป้องกันใน ผสอ. Health Promotion (ส่งเสริมสุขภาพ) Primary Prevention (การป้องกันระดับปฐมภูมิ) ครอบครัว ชุมชน ชมรมสายใยรัก ชมรมนมแม่ ชมรมผู้สูงอายุส่งเสริมสุขภาพช่องปาก วัดส่งเสริมสุขภาพ สถานบริการ HPH รพ.สายใยรัก MCH Board ทันตกรรมป้องกันใน ผสอ. Long term care (ผสอ) Contiuous Care (การดูแลอย่างต่อเนื่อง)
นวัตกรรมด้านการส่งเสริมสุขภาพ สุขภาพชุมชน บท บาท สถาน บริ การ สร้างกระแสผลักดัน/สนับสนุน ประเด็นสุขภาพของชุมชน ผสาน/ส่งต่อ/เชื่อโยงสู่บ้าน/ชุมชน จัดระบบบริการผสมผสาน/สหสาขาวิชาชีพ นวัตกรรมด้านการส่งเสริมสุขภาพ ระบบข้อมูล สารสนเทศ การกำกับ/ประเมินผล
สร้างสรรค์นวัตกรรมสุขภาพ สุขภาพชุมชน บท บาท ชุม ชน สร้างกระแสผลักดัน/สนับสนุน ประเด็นสุขภาพของชุมชน สร้างสรรค์นวัตกรรมสุขภาพ สนับสนุน จัดสรรทรัพยากร กำหนดมาตรการสังคม/นโยบายสาธารณะ ระบบข้อมูล สารสนเทศ การกำกับ/ประเมินผล
เครื่องมือในการเชื่อมโยง ประสานการส่งเสริมสุขภาพ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ SRM
มีการใช้แผนที่ยุทธศาสตร์ องค์ประกอบของแผนที่ยุทธศาสตร์ 2 1 บุคคลมีบทบาทใช้มาตรการเทคนิค/สังคม มีโครงการของชุมชน ประชาชนมีบทบาท มีระบบเฝ้าระวัง มีมาตรการสังคม อปท มีส่วนร่วม ประชาสังคมทำงาน ภาคีแข็งแกร่ง กลุ่มสนับสนุนทาง การเงิน การเมืองมีบทบาท ฝ่ายวิชาการมีบทบาท ระบบบริการดี กลไกการประสานงานดี บริหารจัดการดี ระบบการสื่อสารดี มีการใช้แผนที่ยุทธศาสตร์ มีการสร้างนวัตกรรม รากฐานแข็งแรง 1 การพัฒนา การสร้างผลผลิต 2 ข้อมูลทันสมัย องค์กรมีมาตรฐาน บุคลากรมีทักษะ © 2005 by the Balanced Scorecard Institute. All rights reserved.
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์(SRM) การส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ศูนย์อนามัยที่ 3 พ.ศ.2553-2556 (ระยะ 4 ปี) ประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมและอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ ประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของของประชาชน สร้างฐานข้อมูลสุขภาพชุมชน กำหนดมาตรการทางสังคม ชุมชนมีแผนงาน/โครงการ ส่งเสริมการจัดทำแผนที่ทางเดิน ยุทธศาสตร์สุขภาพชุมชน ส่งเสริมการใชภูมิปัญญาท้องถิ่น แสวงหาทุน ชุมชนมีนวัตกรม พัฒนาศักภาพชุมชน ส่งเสริมการสร้างนวัตกรรมท้องถิ่น สร้างคลังความรู้ ระดับประชาชน (Valuation) สธ.สนับสนุนวิชาการ และองค์ความรู้ สร้างความสัมพันธ์กับภาคีเครือข่าย พัฒนาศักภาพ ส่งเสริมการสร้างนวัตกรรม สพท/รรบูรณาการหลักสูตร ส่งเสริมการพัฒนา รร ตามมารตฐาน พัฒนาศักยภาพผู้บริหาร รร/ครู ส่งเสรมการเรียนโดยการมีส่วนของนัเรียน ภาครัฐ/เอกชน/ชมรมสนับสนุน ส่งเสริมการมีส่วนร่วม พัฒนาระบบการสื่อสาร สร้างกระแสชี้นำสังคม อปท.มีส่วนร่วมแลสนับสนุน ส่งเสริมการจัดทำแผนบูรณาการ สร้างเวทีแลกเรียนรู้ในชุมชน ผลักดันมีข้อกำหนดท้องถิ่น (Stakeholder) ระดับภาคี มีระบบเฝ้าระวังติดตามและประเมินผล พัฒนาระบบเฝ้าติดตามประเมิน พัฒนาระบบการจัดการความรู้ จัดทำข้อเสนอเพื่อการพัฒนา/แก้ไขปัญหา มีระบบการจัดการความรู้และนวัตกรรม ส่งเสริมการวิจัย พัฒนากระบวนการถ่ายทอด สร้างคลังความรู้ มีและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ พัฒนาทักษะการสร้างและใช้SRM สนับสนุนให้กองทุนฯใช้ SRM ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ มีการบริหารจัดการ ภาคีเครือข่ายที่มีประสิทธิภาพ สร้างความสัมพันธ์กับภาคเครือข่าย พัฒนาระบบการสื่อสาร มีการสื่อสารสาธารณะ ระดับกระบวนการ มีระบบข้อมูลสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพ พัฒนาระบบขัอมูลและสารสนเทศ พัฒนาช่องทางเข้าถึงข้อมูล พัฒนาเทคโนโยลี่สารสนเทศ สร้างข้อมูลและนวัตกรรม บุคลากรมีทักษะและสมรรถนะอย่างมืออาชีพ ส่งเสริมการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง เร่งรัดการเป็นผู้นำและทำงานเป็นทีม พัฒนาระบบประเมินบุคคล พัฒนาศูนย์การเรียนรู้ องค์กรมีวัฒนธรรมคุณภาพ พัฒนาระบบบริหารจัดการ สร้างบรรยากาศที่เอื้อต่อการทำงานสร้างแรงจูงใจและขวัญกำลังใจ สร้างเสริมจิตสาธารณะ ระดับ พื้นฐาน 9
ศูนย์อนามัยที่ 3 ภายในปี 2553-2554 (ระยะ 2 ปี) แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) การส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ศูนย์อนามัยที่ 3 ภายในปี 2553-2554 (ระยะ 2 ปี) ประชาชนมีฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม ประชาชน ชุมชนมีนวัตกรรม ชุมชนมีแผนงานโครงการ อปท.มีส่วนร่วมและการสนับสนุนการดำเนินงาน องค์กรภาครัฐ/เอกชน/NGOs/มีส่วนร่วม/ส่งเสริมการดำเนินงาน ภาคี สพท/รรบูรณการหลักสูตร หน่วยงานสาธารณสุขสนับสนุนวิชาการและองค์ความรู้ มีและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ มีระบบเฝ้าระวัง ติดตามประเมินผล มีระบบการจัดการความรู้และนวัตกรรม กระบวนการ มีระบบการบริหารจัดการ ภาคีเครือข่ายที่มีประสิทธิภาพ บุคลากรมีทักษะและสมรรถนะอย่างมืออาชีพ ระบบข้อมูล สารสนเทศ พื้นฐาน องค์กรมีวัฒนธรรมคุณภาพ 10
กิจกรรมสำคัญนำไปสร้างแผนปฏิบัติการ KPIต้องตอบสนองเป้าประสงค์ในช่อง 1
การทำงานของ ศูนย์อนามัยที่ 3 ร่วมกับพื้นที่
ทีมบูรณาการ
ผู้ช่วยผู้อำนวยการด้านบริหาร โทร. 081- 5712470
ผู้ช่วยผู้อำนวยการด้านบริการ โทร. 081- 4850047
ผู้ช่วยผู้อำนวยการด้านพัฒนาองค์กร โทร. 081- 9153547
ผู้ช่วยผู้อำนวยการด้านวิชาการ โทร. 089- 7755846
นางเรียมทอง วิบูลย์ศักดิ์ ผู้ช่วยผู้อำนวยการ ด้านกิจกรรม นางเรียมทอง วิบูลย์ศักดิ์ โทร. 081- 7234416
กิจกรรม
การนิเทศงานผสมผสาน ระยะเวลาดำเนินงาน รอบที่ 1 ; ธ.ค. 52-15 ม.ค. 53 รอบที่ 2 ; 1 พ.ค.-1 มิ.ย. 53
การประเมินรับรองมาตรฐาน ระยะเวลาดำเนินงาน รอบที่ 1 ; เม.ย – พ.ค. 53 รอบที่ 2 ; มิ.ย. – ก.ค. 53
การสร้าง และ ใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ (SRM) ในพื้นที่เป้าหมายเฉพาะ หมู่บ้านต้นแบบเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ : จังหวัดปราจีนบุรี ตำบลต้นแบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว : อ.พนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา จัดทำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ส่งเสริมอนามัยการเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น : จ.สระแก้ว
สวัสดี 23