การคำนวณต้นทุนผลผลิต

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

สื่อการสอนโครงงานอาชีพ ระดับชั้นประถมศึกษาตอนปลาย จัดทำโดย ม
การฝึกอบรมหลักสูตร การบริหารจัดการโครงการ และการติดตามประเมินผล
บทที่ 1 ลักษณะของระบบบัญชี
คณิตศาสตร์สำหรับการคิดภาระภาษี
นพ.ขวัญประชา เชียงไชยสกุลไทย
เศรษฐกิจในชีวิตประจำวัน
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
การเลือกตัวอย่าง อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
ข้อควรคำนึงในการสร้างเครือข่าย
การใช้โปรแกรม Hospital Cost Analysis (พัฒนาโดย รศ.นพ.กำจร ตติยกวี)
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
Business Administration THONBURI UNIVERSITY
MARKETING A.Suchada Hommanee.
รายงานที่ให้ทำ (ทุกคน)
สัปดาห์ที่ 6 เรื่อง วิธีการดำเนินงานสุขศึกษา ในสถานที่ต่างๆ
การติดตาม และประเมินโครงการ.
งบการเงินตามแนวคิดการบริหารและต้นทุนจริง
ธุรกิจในโลกาภิวัตน์ Globalizing Business.
การติดตามประเมินผลการ ปฏิบัติราชการ (Site Visit II) รอบ 12 เดือน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2551 ณ ห้องประชุมลำพอง 2 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.
วิธีการทางวิทยาการระบาด
การเขียนโครงการ.
บรรยายองค์ความรู้เรื่อง AEC สมาคมอาเซียน
เทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยี + สารสนเทศ.
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
บทที่ 3 การวางแผน การบริหารจัดการที่จะประสบความสำเร็จจะต้องมีหน้าที่สำคัญ 4 ประการ การจัดองค์การ การนำ การควบคุม.
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
กระบวนการวิจัยเชิงประเมิน
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
ระบบการผลิต ( Production System )
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสำนักงาน และการบริหารงานสำนักงาน
การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
มาตรฐานทางการเงิน 7 ด้าน
ผู้รับผิดชอบ : สำนักงาน ก.ก.
ข้อ Comment โครงการ Teenaqe Mother จากผู้ตรวจราชการ 1. การสร้างความเข้าใจ และประสานความ ร่วมมือกับองค์กรภาคี - define บทบาทให้ชัดเจน ตีบทให้แตก แจก บทให้ผู้เกี่ยวข้องและสร้างความเข้าใจ.
การลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติราชการ และการพิจารณาให้รางวัลคุณภาพ
การตรวจรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) 1.
บทที่ 5 การวางแผนการผลิต.
ตัวชี้วัด ปี 2548 คำรับรองการปฏิบัติราชการ มิติ 1 ประสิทธิผล
ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงาน (Operational Risk)
(Transaction Processing Systems)
มาตรฐานการวัด การประเมินและ การประกันคุณภาพภายใน
กลุ่มที่ 1.
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
การปรับปรุงวิธีการคิดต้นทุนงานบริการวิชาการ
การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
เอกสารประกอบการประชุมคณะทำงานเพื่อจัดทำ ตัวชี้วัดและระบบการบริหาร ผลการ ปฏิบัติราชการ ของสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อ เกษตรกรรม สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม.
การติดตาม และการควบคุม (Monitoring and Control)
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
วิชาโครงการ 4 หน่วยกิต 2 ชั่วโมง
สรุประบบเทคโนโลยี สมาชิกกลุ่ม 1.น.ส.มยุรี ริยะอุด เลขที่ 1 ม.4.10
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบ Introduction to the System
จัดทำโดย เด็กชายสุวพิชญ์ สินธุแปง เลขที่ 14
ADDIE Model.
งานสำนักงาน หน่วยการเรียนรู้ที่ 3.
หลักการเขียนโครงการ.
Supply Chain สินค้าเกษตร ในสหกรณ์การเกษตร
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ (Thailand Public Service Awards)
การเขียนโครงการ.
บทที่ 7 การดำเนินการผลิตในระบบอุตสาหกรรมเกษตร
บทที่1 การบริหารการผลิต
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
การประเมินโครงการ (Project Evaluation)
ตลาดผูกขาด ( MONOPOLY )
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การคำนวณต้นทุนผลผลิต ปีงบประมาณ 2550

แนวความคิดของระบบต้นทุนกิจกรรม - ABC กิจกรรม หมายถึง งานหนึ่ง ๆ ที่เกิดขึ้นในกระบวนการทำงานของหน่วยงาน ซึ่งสามารถกำหนดขอบเขต ลักษณะ และปริมาณของงาน ตลอดจนสามารถวางแผน และควบคุมต้นทุน และค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจากงานนี้ได้ทั้งนี้เพื่อก่อให้เกิด ประสิทธิภาพ และประสิทธิผลในการปฏิบัติงานดังกล่าว เพื่อให้กระบวนการทำงานบรรลุเป้าหมายที่กำหนดไว้ ฝ่ายบริหารต้องจัดหาทรัพยากรต่าง ๆ มาใช้ในการดำเนินงาน ทรัพยากร กิจกรรม ต้นทุน ผลิตภัณฑ์ / บริการ

การวิเคราะห์กิจกรรม ศูนย์ดำเนินกิจกรรมอะไรบ้าง ใครเป็นผู้รับผิดชอบ ใช้ทรัพยากรอะไรในการดำเนินการกิจกรรม แรงงาน วัตถุดิบ / supplies อุปกรณ์ / เครื่องมือเครื่องใช้ ความรู้ต่าง ๆ ฯลฯ ใช้เวลาในการดำเนินกิจกรรมเท่ากับเท่าใด กิจกรรมนั้นเกิดคุณค่าแก่หน่วยงานหรือไม่

การวิเคราะห์ตัวผลักดันต้นทุน ตัวผลักดันต้นทุน (Cost driver) หมายถึง สาเหตุที่ทำให้เกิดต้นทุน Volume – based cost drivers เช่น หน่วยผลิต ชั่วโมงการทำงาน หน่วยนับปริมาณ Transaction – based cost drivers เช่น ความยากง่ายในการปฏิบัติงาน ฯลฯ นิยมวิเคราะห์สาเหตุที่ทำให้เกิดต้นทุนตามลำดับขั้นกิจกรรมเป็น 4 ระดับดังนี้ ระดับหน่วยผลิต (Unit level) ระดับกลุ่มงาน หรือขนาดคำสั่งในการทำงาน (Batch level) ระดับกระบวนการทำงาน (Process level) ระดับกิจกรรมโดยรวม (Organizational level)

ขั้นตอนในการคำนวณต้นทุนกิจกรรม กำหนดสิ่งที่จะคิดต้นทุน (Cost objects) การวิเคราะห์กิจกรรม/การจัดทำพจนานุกรมกิจกรรม การกำหนดตัวผลัดดันกิจกรรม/การลงน้ำหนักงาน หรือสัดส่วนในการทำกิจกรรม การเก็บรวบรวม และระบุต้นทุนในการทำกิจกรรม การเก็บรวบรวมปริมาณงานของกิจกรรม หรือผลผลิตของกิจกรรม การคำนวณต้นทุนต่อหน่วยของกิจกรรม/ผลผลิตของหน่วยงาน

ต้นทุนรวมทางตรง (Total Direct Cost) (TDC) Labor Cost (LC) Material Cost (MC) Capital Cost (CC) *ต้องกระจายต้นทุนของหน่วยงานสนับสนุนอื่น ต้นทุนดำเนินการ (Operating Cost)

การกระจายต้นทุน การกระจายต้นทุน คือ การเคลื่อนย้ายต้นทุนของหน่วยต้นทุนที่ทำหน้าที่สนับสนุน มาสู่หน่วยต้นทุนที่ก่อให้เกิดผลผลิตของหน่วยงาน เหตุผลที่สำคัญคือ เพื่อให้ต้นทุนทั้งหมดมาตกอยู่ในหน่วยต้นทุนที่ก่อให้เกิดผลผลิตของหน่วยงาน ซึ่งทำให้คำนวณต้นทุนต่อหน่วยได้อย่างครอบคลุม ไม่มีต้นทุนส่วนใดตกหล่น เพื่อสะท้อนให้เห็นความสัมพันธ์ในการสนับสนุนซึ่งกันและกันของหน่วยต้นทุนต่าง ๆ ซึ่งจะนำไปสู่การประเมินประสิทธิภาพในการทำงานได้ใกล้เคียงความเป็นจริงมากที่สุด

ข้อควรคำนึงในการกระจาย วิธีการกระจายที่แตกต่างกันให้ผลลัพธ์ แตกต่างกันเพียง ร้อยละ 1 ถึง ร้อยละ 2 สิ่งสำคัญกว่าคือการใช้เกณฑ์การกระจายที่เหมาะสม ซึ่งจะทำให้ผลลัพธ์แตกต่างกันมากกว่าวิธีการกระจาย ดังนั้น จึงควรพยายามหาเกณฑ์การกระจายที่เหมาะสมที่สุด

Q & A