บนหนทางการดำเนินงาน ควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน... แล้วไง ?

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
Advertisements

ความปลอดภัยด้านอาหาร (Food Safety)
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
การจัดสรรงบประมาณ โครงการเด็กไทยเฉลียวฉลาด ประเทศชาติแข็งแรง
ประเด็นยุทธศาสตร์ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ดื่มน้ำสะอาด
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
การมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน
ตัวชี้วัดการดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหาร สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
ฟันดี สุขภาพดี ชีวีมีสุข ทพ.สุธาเจียรมณีโชติชัย ผอ.สำนักทันตสาธารณสุข
การป้องกันควบคุมโรคขาดสารไอโอดีน
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
นโยบายอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี ๒๕๕๔
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
“การสนับสนุนเครือข่ายให้มีการพัฒนาการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555” โดย ดร.นายแพทย์อนุพงค์ สุจริยากุล ผู้อำนวยการสำนักงานควบคุมป้องกันโรค.
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
การดำเนินงานเพื่อจัดทำเครือข่าย เฝ้าระวังความไม่ปลอดภัยด้านอาหาร ของ โดย สุรีย์ วงค์ปิยชน 19 มีนาคม 50 กรมอนามัย.
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
กลุ่ม น้ำบริโภคสะอาด ปลอดภัย เพียงพอ
แผนการดำเนินโครงการโชห่วยช่วยชาติ “ร้านถูกใจ”
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข ปี 2552 “อาหารปลอดภัย เด็กไทยฉลาด”
(ส่วนที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่)
ทิศทางการบริหารงบประมาณ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคสาธารณสุขเขต 10 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
MIND MAPงานสุขภาพศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
ปี2554 หญิงตั้งครรภ์ขาดสารไอโอดีน % มัธยฐาน ไมโครกรัมต่อลิตร สสจ. อุดรธานี ; 2554,2555 ผลการตรวจปัสสาวะหญิงตั้งครรภ์ เพื่อหาภาวการณ์ขาดสารไอโอดีน.
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
ไอโอดีนมีอยู่ทุกที่ ดูให้ดี กินให้เป็น
ตัวชี้วัด เป้าหมาย แนวทางดำเนินงาน ของกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค
นโยบายและยุทธศาสตร์ การควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์
คำแนะนำการใช้ SLM ร่วมระหว่าง กรมอนามัยและควบคุมโรค  การจัดการทั่วไป 1. สสจ. จัดประชุมเพื่อพัฒนา SLM ร่วมเพิ่มเติม ผู้ เข้าประชุมประกอบด้วยคณะผู้แทนศูนย์อนามัย.
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
โครงการหมู่บ้าน / ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค
อย.น้อย : เริ่มต้น และความคาดหวัง รวบรวมโดย...กฤษณา แป้นงาม
การพัฒนาศักยภาพบุลากร ด้านการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย วันที่ กันยายน 2552 ณ ห้องประชุมคณาพันธ์ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอำนาจเจริญ.
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
กลไกโภชนาการสมวัย นโยบาย สื่อสารสาธารณะ HUB/ทีมภาค ชุมชน สื่อสาร
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
จังหวัดไร้พุงมุ่งสู่สุขภาพดี
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
(Evaluation) มุมมองประชาชน มุมมองภาคี (Stakeholder) มุมมองกระบวนการ
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
โปรแกรมเฝ้าระวัง การเจริญเติบโตของเด็กอายุ 0-18 ปี
เป้าประสงค์ มีระบบและกลไกการบริหารจัดการที่ดีด้านอาหารและโภชนาการในระดับท้องถิ่น เกิดศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก บ้านรับเลี้ยงเด็ก โรงเรียน และชุมชนที่พึงประสงค์ด้านโภชนาการ.
แนวทางการดำเนินงานสาธารณสุขที่สำคัญ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บนหนทางการดำเนินงาน ควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน... แล้วไง ? บนหนทางการดำเนินงาน ควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน... แล้วไง ? โดย นายแพทย์สมศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 2 สิงหาคม 2554 ณ โรงแรมเซ็นธารา ดวงตะวัน เชียงใหม่

สถานการณ์โรคขาดสารไอโอดีน ณ ตุลาคม 2553 สถานการณ์โรคขาดสารไอโอดีน ณ ตุลาคม 2553 ตัวชี้วัด เป้าหมาย สถานการณ์ 1. ความครอบคลุมการใช้เกลือบริโภคเสริมไอโอดีนของครัวเรือน ≥ ร้อยละ 90 ร้อยละ 77.4 2. ระดับไอโอดีน ในปัสสาวะ หญิงตั้งครรภ์น้อยกว่า 150 ไมโครกรัมต่อลิตร ≤ ร้อยละ 50 ร้อยละ 52.5 - ค่ามัธยฐานระดับไอโอดีนในปัสสาวะหญิงตั้งครรภ์ (ไมโครกรัมต่อลิตร) 150 – 249 ไมโครกรัมต่อลิตร 142.1 ไมโครกรัมต่อลิตร 3. ทารกแรกเกิดที่มีระดับฮอร์โมนกระตุ้นต่อมธัยรอยด์( TSH)มากกว่า 11.2 มิลลิยูนิตต่อลิตร ในซีรั่ม < ร้อยละ 3 ร้อยละ 13.3 ( ปี 2552 ) 4. ชุมชน/หมู่บ้านไอโอดีน 76,000 แห่ง 34 แห่ง

การควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน พ.ศ. 2553 - 2555 การควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน พ.ศ. 2553 - 2555 เกลือเสริมไอโอดีนถ้วนหน้า เกลือบริโภค / น้ำปลา / สารปรุงรส เกลืออุตสาหกรรมอาหาร / อาหารสัตว์ คุณภาพโรงงาน / เกลือ ทะเบียน อย. เกลือ ระบบเฝ้าระวัง ติดตาม ประเมินผล ไอโอดีนในปัสสาวะหญิงตั้งครรภ์ / เด็กเล็ก TSH ทารกแรกเกิด คุณภาพเกลือเสริมไอโอดีน  แหล่งผลิต  ร้านค้า  ครัวเรือน พัฒนาการเด็ก การควบคุมป้องกัน วิจัย และปฏิบัติการ เฝ้าระวัง Sentinel ความสัมพันธ์ไอโอดีน กับพัฒนาการเด็ก มาตรการเสริม คู่มือปฏิบัติงาน จังหวัด / อปท. / อสม. ภาวะขาดสารไอโอดีน คุณภาพชีวิต ทุกกลุ่มวัย การบริหารจัดการ และสร้างความเข้มแข็งภาคีเครือข่าย หน่วยงานรัฐ ภูมิภาค จังหวัด /สสจ. / อสจ. / ปศจ. ฯลฯ องค์กรปกครองท้องถิ่น ชมรมผู้ประกอบการเกลือ ชุมชน / หมู่บ้านไอโอดีน สร้างกระแสสังคม สื่อสารให้ผู้บริหาร สื่อสารความเสี่ยง สื่อสารสาธารณะ ภาคี เครือข่ายสื่อ

นโยบายการควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน เกลือเสริมไอโอดีนถ้วนหน้า (Universal Salt Iodization : USI) การจ่ายยาเม็ดเสริมไอโอดีนให้หญิงตั้งครรภ์ทุกรายตลอดการตั้งครรภ์ การเฝ้าระวังโรคขาดสารไอโอดีนในหญิงตั้งครรภ์ และ ทารกแรกเกิด

นโยบายการควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน (ต่อ) 4. การสุ่มตรวจคุณภาพเกลือบริโภคเสริมไอโอดีน - แหล่งผลิต/นำเข้า - ร้านค้า - ร้านอาหาร - ครัวเรือน - ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และโรงเรียน 5. การพัฒนาชุมชน / หมู่บ้านไอโอดีน การรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ “เพิ่มไอโอดีน เพิ่มไอคิว” อย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่อง พัฒนาศักยภาพชมรมผู้ประกอบการเกลือเสริมไอโอดีน

กรมอนามัยดำเนินการแก้ไขปัญหา โดยใช้ 6 ยุทธศาสตร์ ดังนี้ กรมอนามัยดำเนินการแก้ไขปัญหา โดยใช้ 6 ยุทธศาสตร์ ดังนี้ 1. การผลิต และกระจายเกลือเสริมไอโอดีนที่มีคุณภาพ โดยการบริหารจัดการที่ต่อเนื่องและยั่งยืน 2. การจัดทำระบบการเฝ้าระวัง ติดตามและประเมินผลโครงการ 3. การสร้างความเข้มแข็งให้กับองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น พันธมิตร และภาคีเครือข่ายเพื่อการมีส่วนร่วม 4. การประชาสัมพันธ์ รณรงค์ และการตลาดเชิงสังคม เพื่อการบริโภคเกลือเสริมไอโอดีนอย่างต่อเนื่อง 5. การศึกษา วิจัย 6. การใช้มาตรการเสริมในระยะเฉพาะหน้าและมาตรการเสริมอื่น

นโยบายเกลือเสริมไอโอดีนถ้วนหน้า ยุทธศาสตร์ที่ 1 การผลิต และกระจายเกลือเสริมไอโอดีนที่มีคุณภาพ โดยการบริหารจัดการที่ต่อเนื่องและยั่งยืน นโยบายเกลือเสริมไอโอดีนถ้วนหน้า สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ออกประกาศ กระทรวงสาธารณสุข จำนวน 4 ฉบับ ดังนี้ 1.1 เรื่องเกลือบริโภค กำหนดให้เติมไอโอดีน ระหว่าง 20 - 40 มิลลิกรัมต่อเกลือ 1 กิโลกรัม 1.2 เรื่องน้ำปลา (ฉบับที่ 2) 1.3 เรื่องน้ำเกลือปรุงอาหาร 1.4 เรื่องผลิตภัณฑ์ปรุงรสที่ได้จากการย่อยโปรตีน ของถั่วเหลือง กำหนดให้ใช้เกลือบริโภค หรือให้เติมไอโอดีน ไม่น้อยกว่า 2 และไม่เกิน 3 มิลลิกรัมต่อลิตร

ยุทธศาสตร์ที่ 2 การจัดทำระบบการเฝ้าระวังติดตามและประเมินผลโครงการ ระบบเฝ้าระวังภาวะการขาดสารไอโอดีนในประชาชนไทย การเฝ้าระวังในคน การเฝ้าระวังในเกลือ

การเฝ้าระวังในเกลือ การควบคุมคุณภาพภายใน (โดยผู้ผลิต) จุดผลิตเกลือเสริมไอโอดีน คุณภาพเกลือเสริมไอโอดีน การควบคุมคุณภาพ โดยเจ้าหน้าที่ของรัฐ ร้านค้า ควบคุมโดย เจ้าหน้าที่ของรัฐ ควบคุมโดยเจ้าหน้าที่รัฐ,ผู้บริโภค, อสม., อย.น้อย ครัวเรือน

ระบบเฝ้าระวังคุณภาพเกลือ กระจาย ซื้อขาย โรงงานเกลือ ร้านค้าเกลือ เกลือใน ครัวเรือน ระบบเฝ้าระวังคุณภาพเกลือ Urine Iodine ระบบเฝ้าระวังสถานการณ์ไอโอดีนในกลุ่มประชากรกลุ่มต่างๆ Urine Iodine TSH ผู้สูงอายุ 60 ปี หญิงตั้งครรภ์ ทารกแรกเกิด เด็ก 3-6 ปี

การเก็บข้อมูลในแต่ละจังหวัด คุณภาพเกลือไอโอดีน ประชากรกลุ่มเสี่ยง พฤติกรรมผู้บริโภค เมื่อเราได้รายชื่อจังหวัดแล้วนะครับ แต่ละจังหวัดจะต้องเก็บข้อมูลอะไรบ้าง โดยจะแบ่งข้อมูลเป็น 3 อย่างด้วยกัน อย่างแรก เป็นข้อมูลคุณภาพเกลือไอโอดีน อย่างที่สอง เป็นข้อมูลประชากรกลุ่มเสี่ยง และสาม เป็นข้อมูลพฤติกรรมผู้บริโภค

1.1 ความครอบคลุมการใช้เกลือบริโภคเสริมไอโอดีนคุณภาพ ของครัวเรือน ( สำนักโภชนาการ กรมอนามัย) ข้อมูล : รณรงค์วันไอโอดีนแห่งชาติ สำนักโภชนาการ กรมอนามัย

1.2 ค่ามัธยฐานระดับไอโอดีนในปัสสาวะหญิงตั้งครรภ์ พ.ศ. 2543 - 2553 1.2 ค่ามัธยฐานระดับไอโอดีนในปัสสาวะหญิงตั้งครรภ์ พ.ศ. 2543 - 2553 ไมโครกรัม / ลิตร พ.ศ. ค่าปกติ 2543 - 2549 = 100 ไมโครกรัม/ลิตร 2550 – 2553 = 150 ไมโครกรัม/ลิตร ข้อมูลจากสำนักโภชนาการ กรมอนามัย

1.3 ร้อยละระดับไอโอดีนในปัสสาวะหญิงตั้งครรภ์น้อยกว่า 150 µg/l ปี 2543-2553 ( สำนักโภชนาการ กรมอนามัย) หมายเหตุ องค์การอนามัยโลกกำหนด ก่อนพ.ศ. 2550 พื้นที่ที่มีสัดส่วนของหญิงตั้งครรภ์ที่มีค่าไอโอดีนในปัสสาวะน้อยกว่า 100 µg/l เกินกว่าร้อยละ 50 เป็นพื้นที่ขาดสารไอโอดีน ตั้งแต่ พ.ศ. 2550 พื้นที่ที่มีสัดส่วนของหญิงตั้งครรภ์ที่มีค่าไอโอดีนในปัสสาวะน้อยกว่า 150 µg/l เกินกว่าร้อยละ 50

แผนที่แสดงค่ามัธยฐานไอโอดีนในปัสสาวะหญิงตั้งครรภ์ 75 จังหวัด ปี 2553

มาตรการแก้ไขปัญหาพื้นที่ขาดสารไอโอดีน ประเมินผลการดำเนินงานการควบคุมโรคขาดสารไอโอดีน ค้นหาสาเหตุ และกำหนดแนวทางการแก้ไข ดูแลกำกับการให้ยาเม็ดเสริมสารอาหารสำคัญที่มีไอโอดีน แก่หญิงตั้งครรภ์ทุกราย จัดทำระบบเฝ้าระวัง ติดตามประเมินผล อย่างเคร่งครัด รณรงค์ ประชาสัมพันธ์ และสนับสนุน การบริโภคเกลือเสริมไอโอดีน และผลิตภัณฑ์เสริมไอโอดีนในพื้นที่

การดำเนินงานภาคีเครือข่าย ยุทธศาสตร์ที่ 3 การสร้างความเข้มแข็งให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พันธมิตร และภาคีเครือข่ายเพื่อการมีส่วนร่วม การดำเนินงานภาคีเครือข่าย พัฒนาชมรมผู้ประกอบการเกลือเสริมไอโอดีน ขับเคลื่อนให้เกิดชุมชน / หมู่บ้านไอโอดีน ประชุมภาคีเครือข่ายให้ความร่วมมือในการเสริมไอโอดีน ในผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ดังนี้ - บะหมี่กึ่งสำเร็จรูป - น้ำปลา - ใส่เกลือเสริมไอโอดีนในขนมขบเคี้ยว จำนวน 37 รายการ - สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทยใช้ไอโอดีนเติมลงในอาหารไก่ เพื่อให้ได้ไข่ที่มีไอโอดีน 50 ไมโครกรัม/ฟอง ทดลองทำปลาร้าเสริมไอโอดีน

การขับเคลื่อนชุมชน/หมู่บ้านไอโอดีน เป้าหมาย ปี 53 - 55 ทุกชุมชน/หมู่บ้าน ในทุกจังหวัด (ประมาณ 76,000 แห่ง) พัฒนาสู่ “ชุมชน/หมู่บ้านไอโอดีน”

ประเมินรับรอง “ชุมชน/หมู่บ้านไอโอดีน” ประเมินตนเอง : ภาคีเครือข่ายระดับพื้นที่ ประเมินภายนอก : สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด และศูนย์อนามัยที่ 1 – 12 ใช้เกณฑ์การประเมินรับรอง ของกรมอนามัย (ศึกษารายละเอียดได้จากคู่มือการประเมินฯ)

ผลการประเมินรับรองชุมชน/หมู่บ้านไอโอดีน ณ 15 มิถุนายน 2554 จำนวนหมู่บ้านที่เข้าร่วมกระบวนการพัฒนาสู่ “ชุมชน/หมู่บ้านไอโอดีน” รวมทั้งสิ้น 56,584 แห่ง จำนวนหมู่บ้านที่ผ่านเกณฑ์การประเมินรับรอง “ชุมชน/หมู่บ้านไอโอดีน” รวมทั้งสิ้น 21,871 แห่ง (49 จังหวัด) คิดเป็นร้อยละ 38.70 ของหมู่บ้าน ที่เข้าร่วมกระบวนการ

ผลการประเมินรับรองชุมชน/หมู่บ้านไอโอดีน ศูนย์อนามัยที่ 1 - 12 (จำนวนจังหวัดที่รายงาน) จำนวนหมู่บ้าน ที่เข้าร่วมกระบวนการ “ชุมชน/หมู่บ้านไอโอดีน” จำนวนหมู่บ้าน ที่ผ่านเกณฑ์การประเมิน “ชุมชน/หมู่บ้านไอโอดีน” ศอ.1 (4) 2,936 941 ศอ. 2 (4) 2,977 694 ศอ. 3 (1) 914 896 ศอ. 4 (3) 1,635 1,186 ศอ. 5 (4) 9,999 5,397 ศอ. 6 (5) 9,409 2,009

(จำนวนจังหวัดที่รายงาน) ศูนย์อนามัยที่ (จำนวนจังหวัดที่รายงาน) จำนวนหมู่บ้าน ที่เข้าร่วมกระบวนการ “ชุมชน/หมู่บ้านไอโอดีน” จำนวนหมู่บ้าน ที่ผ่านเกณฑ์การประเมิน “ชุมชน/หมู่บ้านไอโอดีน” ศอ.7 (7) 10,565 4,827 ศอ. 8 (2) 2,493 1,163 ศอ. 9 (5) 4,405 356 ศอ. 10 (5) 6,615 1,388 ศอ. 11 (1) 321 174 ศอ. 12 (7) 4,315 2,840 รวม (49 จังหวัด) 56,584 21,871 (38.70%)

นวัตกรรมชุมชน/หมู่บ้านไอโอดีน ตัวอย่าง นวัตกรรมชุมชน/หมู่บ้านไอโอดีน ในจังหวัดที่ได้รับถ้วยรางวัลพระราชทานสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2554

นวัตกรรม “ชุมชน / หมู่บ้านไอโอดีน” จ.นครราชสีมา นวัตกรรม : แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์การควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน - ศูนย์การเรียนรู้ การควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน หมอลำไอโอดีน เซียมซีไอโอดีน ปัจจัยความสำเร็จ : ผู้บริหารทุกระดับให้ความสำคัญ ชุมชนร่วมใจ ประชาชนร่วมมือ มีทูตไอโอดีน ใช้ SLM ขับเคลื่อน

นวัตกรรม “ชุมชน / หมู่บ้านไอโอดีน” จ.มหาสารคาม นวัตกรรม : แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์การควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน - ศูนย์การเรียนรู้ การควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน กลอนรำไอโอดีน ฮูลาฮูปไอโอดีน ไม้พลองผู้สูงอายุ ปัจจัยความสำเร็จ : ผู้บริหารทุกระดับให้ความสำคัญ ชุมชนร่วมมือ ประสานใจบูรณาการทุกภาคส่วนโดยใช้ SLM

นวัตกรรม “ชุมชน / หมู่บ้านไอโอดีน” จ.นครพนม นวัตกรรม : แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สูตรอาหารท้องถิ่น เสริมไอโอดีน หมอลำไอโอดีน มาตรการทางสังคม : ร้านค้าจำหน่ายเฉพาะเกลือเสริมไอโอดีน/ เฝ้าระวังรถเร่ ปัจจัยความสำเร็จ : ผู้บริหารให้ความสำคัญ ใช้ SLM งบประมาณสนับสนุนเพียงพอ ติดตามผลโดย ผวจ.ทุกเดือน การสื่อสารหลายช่องทาง การประสานงานดี ทำงานเป็นทีม

ยุทธศาสตร์ที่ 4 การประชาสัมพันธ์ รณรงค์ และการตลาดเชิงสังคม เพื่อการบริโภคเกลือเสริมไอโอดีนอย่างต่อเนื่อง จัดงานวันไอโอดีนแห่งชาติ 25 มิถุนายนทุกปี ทั้งส่วนกลาง และส่วนภูมิภาค ประชาสัมพันธ์การส่งเสริมการบริโภคเกลือเสริมไอโอดีน ผ่านสื่อโทรทัศน์ วิทยุ จัดมหกรรมรวมพลังประเทศไทย“เพิ่มไอโอดีน เพิ่มไอคิว” จัดพิมพ์สื่อเผยแพร่

ผลงาน : ผลิตสื่อ สิ่งพิมพ์ 7 รายการ สื่อสารสาธารณะ 43 ครั้ง สื่อสารสาธารณะ 43 ครั้ง จัดงานมหกรรมเพิ่มไอโอดีน เพิ่มไอคิว ในส่วนกลาง และทุกจังหวัด จัดงานรณรงค์วันไอโอดีนแห่งชาติ 1 ครั้ง มีผู้รับสารประมาณ 12,000,000 คน

ตัวอย่างผลงาน : 2.1 ผลิตสื่อ สิ่งพิมพ์ 7 รายการ ตัวอย่างผลงาน : 2.1 ผลิตสื่อ สิ่งพิมพ์ 7 รายการ 1. คู่มือการดำเนินงานชุมชน/หมู่บ้านไอโอดีน จำนวน 1,500 เล่ม 2. คู่มือการดำเนินงาน ควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน สำหรับ จนท.สธ. จำนวน 7,000 เล่ม 3. การ์ตูน Mr.ไอโอดีนผจญภัย ในเมืองเอ๋อ จำนวน 3,500 เล่ม 4. บทความวิทยุ เรื่องเด็กไทยจะฉลาดเพราะไม่ขาดไอโอดีน จำนวน 3,500 เล่ม

ตัวอย่างผลงาน : 2.1 ผลิตสื่อ สิ่งพิมพ์ 7 รายการ (ต่อ) ตัวอย่างผลงาน : 2.1 ผลิตสื่อ สิ่งพิมพ์ 7 รายการ (ต่อ) 5. แผ่นพับ 6 ตอน 2 หน้า รณรงค์ควบคุมป้องกันโรค ขาดสารไอโอดีน จำนวน 100,000 ฉบับ 6. แฟ้มไอโอดีน สำหรับ การประชุมผู้บริหาร/คณะกรรมการไอโอดีนแห่งชาติ จำนวน 3,500 เล่ม 7. คู่มือทูตไอโอดีน จำนวน 15,000 ชุด (อยู่ระหว่างดำเนินการ)

ตัวอย่างผลงาน : 2.3 การสื่อสารในระดับ Air campaign 1) ถ่ายทอดสด “ชุมชน/หมู่บ้านไอโอดีน” ผ่าน MCOT 1 เวลา 14.00 – 16.00 น. ครั้งๆละ 2 ชั่วโมง รวม 2 ครั้ง 19 พ.ค.54 อ.บัวใหญ่ จ.นครราชสีมา 25 พ.ค.54 อ.ท่ายาง จ.เพชรบุรี 24 มิ.ย.54 วันไอโอดีนแห่งชาติ ณ หัวลำโพง

2) ประชาสัมพันธ์ผ่านรายการ บ่ายนี้มีคำตอบ เวลา 15.00 – 16.00 น. ช่อง 9 อสมท. จำนวน 3 ครั้ง 9 มี.ค. 54 : นโยบายการควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน 19 เม.ย. 54 : การขับเคลื่อนชุมชน/หมู่บ้านไอโอดีน จ.อุดรธานี 31 พ.ค. 54 : ความสำเร็จในการควบคุมป้องกัน โรคขาดสารไอโอดีน จ.น่าน วันที่ 21 มิ.ย. 54 : รณรงค์ “วันไอโอดีนแห่งชาติ”

3) Press Tour พื้นที่ที่มีผลงานเด่น จำนวน 2 ครั้ง 19 พ.ค.54 อ.บัวใหญ่ จ.นครราชสีมา 25 พ.ค.54 อ.ท่ายาง จ.เพชรบุรี 4) สปอตโทรทัศน์ ความยาว 1 นาที จำนวน 36 ครั้ง ผ่านช่อง 9 อสมท.

จังหวัดที่มีร้อยละของชุมชน/หมู่บ้านไอโอดีนมากที่สุด การรณรงค์ สร้างกระแส “เพิ่มไอโอดีน เพิ่มไอคิว” สร้างแรงจูงใจในระดับพื้นที่ โดยจัดประกวดจังหวัดที่มีผลงานเด่น ใน 3 ประเด็น ดังนี้ จังหวัดที่มีร้อยละของชุมชน/หมู่บ้านไอโอดีนมากที่สุด จังหวัดที่มีร้อยละของครัวเรือนใช้เกลือเสริมไอโอดีนคุณภาพ มากที่สุด จังหวัดที่มีรูปแบบการสื่อสารเรื่องไอโอดีนอย่างสร้างสรรค์ และต่อเนื่อง (มีนวัตกรรมการควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน / บทบาท อสม.ในฐานะทูตไอโอดีนที่เป็นรูปธรรม / เกิดกระบวนการ ทำงานอย่างเป็นระบบในภาพรวมของจังหวัด)

ผลการประกวดมหกรรมเพิ่มไอโอดีน เพิ่มไอคิว ประเภทที่ 1 : จังหวัดที่มีผลงานเด่นด้านการขับเคลื่อน “ชุมชน/หมู่บ้านไอโอดีน” รางวัลที่ 1 : จังหวัดนครราชสีมา รางวัลที่ 2 : จังหวัดมหาสารคาม รางวัลที่ 3 : จังหวัดนครพนม

ผลการประกวดมหกรรมเพิ่มไอโอดีน เพิ่มไอคิว (ต่อ) ประเภทที่ 2 : จังหวัดที่มีผลงานเด่นด้านความครอบคลุมคุณภาพ เกลือบริโภคเสริมไอโอดีนในครัวเรือน รางวัลที่ 1 : จังหวัดพังงา รางวัลที่ 2 : จังหวัดนครราชสีมา รางวัลที่ 3 : จังหวัดพัทลุง

ผลการประกวดมหกรรมเพิ่มไอโอดีน เพิ่มไอคิว (ต่อ) ประเภทที่ 3 : จังหวัดที่มีผลงานเด่นด้านการสื่อสารสาธารณะ อย่างต่อเนื่องและสร้างสรรค์ รางวัลที่ 1 : จังหวัดเพชรบุรี รางวัลที่ 2 : จังหวัดอุดรธานี รางวัลที่ 3 : จังหวัดอุบลราชธานี

มอบโล่ให้กับผู้สนับสนุนการดำเนินงาน บริษัทกรุงเทพผลิตผลอุตสาหกรรมการเกษตรจำกัด สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกล้าฯ สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล บริษัทสาครวัฒนา (ทั่งจือฮะ) จำกัด ชมรมผู้ประกอบการเกลือเสริมไอโอดีน ภาคกลาง ชมรมผู้ประกอบการเกลือเสริมไอโอดีน ภาคเหนือ ชมรมผู้ประกอบการเกลือเสริมไอโอดีน ภาคอีสาน

ยุทธศาสตร์ที่ 5 การศึกษาวิจัย ยุทธศาสตร์ที่ 5 การศึกษาวิจัย การศึกษาวิจัยสำรวจการบริโภคปริมาณโซเดียมคลอไรด์ของประชากรไทย ปริมาณการบริโภคโซเดียมคลอไรด์เฉลี่ยของประชากรไทย พ.ศ. 2551 ชนิดของการบริโภค ปริมาณ (กรัม/คน/วัน) อัตราการใช้เครื่องปรุง (ร้อยละของครัวเรือนทั้งหมด) 1. อาหารที่ปรุงประกอบในครัวเรือน 10.0 1.1 ผลิตภัณฑ์เครื่องปรุงรส 8.0 - เกลือ 3.0 91.53 - น้ำปลา 2.6 96.39 - ผงปรุงรส 0.4 61.60 - ซีอิ้วขาว 64.59 - กะปิ 0.3 63.17 - อื่นๆ (ซอสหอยนางรม และซอสปรุงรส) 1.3 1.2 อาหาร 2.0 2. อาหารปรุงสำเร็จ/อาหารว่าง/อาหารนอกบ้าน 0.8 รวม 10.8

ยุทธศาสตร์ที่ 6 การใช้มาตรการเสริมในระยะ เฉพาะหน้าและมาตรการเสริมอื่นๆ ยุทธศาสตร์ที่ 6 การใช้มาตรการเสริมในระยะ เฉพาะหน้าและมาตรการเสริมอื่นๆ การเสริมไอโอดีนในน้ำดื่ม ดำเนินการในโรงเรียน และหมู่บ้านที่ห่างไกล

ยุทธศาสตร์ที่ 6 (ต่อ) การใช้มาตรการเสริมในระยะ เฉพาะหน้าและมาตรการเสริมอื่นๆ การจ่ายยาเม็ดเสริมไอโอดีนให้หญิงตั้งครรภ์ทุกรายตลอดการตั้งครรภ์และให้นมลูก 6 เดือน การใช้น้ำปลา ซอส ซีอิ้ว เสริมไอโอดีน การบริโภคไข่ที่มีไอโอดีน ฯลฯ

สวัสดี