ฟันดี สุขภาพดี ชีวีมีสุข ทพ.สุธาเจียรมณีโชติชัย ผอ.สำนักทันตสาธารณสุข ๒๘ สิงหาคม ๒๕๕๕
ร้อยละของเด็ก 3 ปีที่มีฟันผุ การส่งเสริมทันตสุขภาพกลุ่มวัยเด็ก ร้อยละของเด็ก 3 ปีที่มีฟันผุ 2545แม่ลูกฟันดี 102 ปีสมเด็จย่า 2550 งานทันต ในรพ.สายใยรัก 2554 กองทุนทันตกรรม (ลูกรักฟันดีเริ่มที่ซี่แรก) 2549 เด็กไทยไม่กินหวาน National Goal 2563 2553ประกวดCUPดีเด่น 2 Bureau of Dental Health 2
ร้อยละของเด็กอายุ 12 ปี ปราศจากโรคฟันผุ 2552พัฒนาเกณฑ์ประเมินเครือข่ายรร.เด็กไทยฟันดี,ปรับปรุงระบบเฝ้าระวังฯ 2550 ประกวดคู่หูโรงเรียน พัฒนาเครือข่ายโรงเรียนเด็กไทยฟันดี 2553ขยายผลเครือข่ายรร. พัฒนาแนวทางในเด็กอนุบาล 2548 เรียนรู้คู่วิจัยควบคุมขนม ประกวดรร.ยิ้มสดใสเด็กไทยฟันดี พัฒนาระบบเฝ้าระวัง 2547 เกณฑ์ประเมิน HPS ประเมินแปรงฟันและควบคุมขนม Bureau of Dental Health
การส่งเสริมทันตสุขภาพกลุ่มผู้สูงอายุ บริการทันตกรรมป้องกัน ฟันเทียมพระราชทาน 10 ยอดฟันดี วัย 80 ปี บูรณาการใน LTC บริการทันตกรรมป้องกัน ชมรมผู้สูงอายุ ร้อยละของผู้สูงอายุมีฟันใช้เคี้ยวอาหารอย่างเหมาะสม (ฟันหลัง 4 คู่สบ) Bureau of Dental Health
25,311 (88.2) 3,383 (11.8) การคุ้มครองผู้บริโภคด้านทันตสุขภาพ ร้อยละแปรงสีฟันผ่านมาตรฐานวิชาการ กรมอนามัย ร้อยละแหล่งน้ำที่มีฟลูออไรด์อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน(< 0.7 มก./ล) อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน (ตัวอย่าง/ร้อยละ) เกินเกณฑ์มาตรฐาน(ตัวอย่าง/ร้อยละ) 25,311 (88.2) 3,383 (11.8)
ผลงานการพัฒนาระบบและกลไก พัฒนาระบบสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพช่องปากระดับจังหวัด ๒. พัฒนาระบบกำลังคนทันตสาธารณสุข ๓. ศึกษาวิจัยระบบบริการสุขภาพช่องปาก ๔. พัฒนารูปแบบการจัดบริการ
สรุป มีนโยบาย/กฎหมาย/มาตรการที่สนับสนุนงาน มีการพัฒนางานส่งเสริมทันตสุขภาพในกลุ่มวัยต่างๆ แม่และเด็ก ..ลูกรักฟันดีเริ่มที่ซี่แรก วัยเรียน ..โรงเรียนต้นแบบ..เครือข่ายโรงเรียน ผู้สูงอายุ..ฟันเทียม/ชมรมผู้สูงอายุ ..LTC มีนโยบาย/กฎหมาย/มาตรการที่สนับสนุนงาน มีการจัดการปัจจัยเสี่ยง ..ฟลูออไรด์/แปรง-ยาสีฟัน/น้ำตาล มีการพัฒนาระบบและกลไกการทำงาน กำลังคน..การบริหารงานทันตฯ..ข้อมูลสารสนเทศ มีการพัฒนาศักยภาพในกระบวนการทำงานกับภาคีเครือข่าย มีการพัฒนางานทันตสุขภาพในพื้นที่ แผนชุมชน..กองทุนสุขภาพตำบล..แผนงานสาธารณสุขของอปท.
“ตำบลฟันดี สุขภาพดี ชีวีมีสุข” แนวคิด ☻ การดูแลสุขภาพช่องปากด้วยมือประชาชน ☻ เสริมสร้างศักยภาพการดูแลและจัดการ ปัญหาโดยชุมชน ☻ สนับสนุนและเสริมสร้างการมีส่วนร่วมของ ภาคีเครือข่าย ☻ เพิ่มการเข้าถึงบริการและพัฒนาคุณภาพ ชุมชนเข้มแข็ง ภาคีมีส่วนร่วม บริการทั่วถึงมีคุณภาพ
ยุทธศาสตร์ตำบลฟันดี สุขภาพดี ชีวีมีสุข: 1. ส่งเสริมให้ชุมชนเข้มแข็ง ท้องถิ่นเป็นแกน และหน่วยงาน สาธารณสุขมีส่วนร่วมในการกระตุ้น ประสาน และสนับสนุน การดำเนินงาน 2. สร้างกระแสและขับเคลื่อนสังคมในการดูแลสุขภาพช่องปาก 3. พัฒนาบริการสุขภาพช่องปากระดับปฐมภูมิ (ครอบคลุม ได้มาตรฐาน คุณภาพ) 4. พัฒนาศักยภาพทันตบุคลากรและภาคีครือข่าย/ แกนนำ ชุมชนหรือ อสม. 5. พัฒนา กลไกการบริหารจัดการ และระบบ เฝ้าระวัง สารสนเทศ การติดตามประเมินผล
ขอบคุณครับ