แนวทางการดำเนินงานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ฉบับบูรณาการ กรมอนามัย และ กรมควบคุมโรค (HPH PLUS) ปีงบประมาณ 2552 ภายใต้ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระเบียบวาระการประชุม คณะกรรมการวางแผนและ ประเมินผล สาธารณสุข จังหวัดลำปาง ครั้งที่ 5 / มิถุนายน 2553.
Advertisements

การประเมินโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
โครงการบูรณาการงานสุขภาพจิตหรือจิตเวช สู่เครือข่ายนอกระบบสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2553
การเปลี่ยนแปลงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
นโยบายและงานเร่งด่วนของกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕
แผนภูมิโครงสร้างส่วนราชการของกระทรวงสาธารณสุข
แนวทางการการดำเนินงานปี 2551
กระทรวงสาธารณสุข (ร่าง)โครงสร้างส่วนราชการของกระทรวงสาธารณสุข
ระดับความสำเร็จของ การควบคุมภายใน
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
คำอธิบาย ระดับความสำเร็จของการพัฒนาสมรรถนะของบุคลากร
ตัวชี้วัดที่ 9 : ร้อยละความสำเร็จ ในการให้ความร่วมมือดำเนินงานตามคู่มือปฏิบัติงานกระบวนการ ที่สร้างคุณค่า และกระบวนการสนับสนุนของกรมอนามัย.
คำอธิบาย ความสำเร็จของการจัดการข้อมูลสินค้าและบริการ
แนวทางการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตาม ตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ วันที่ 29 มกราคม 2551.
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
ตัวชี้วัดตามคำรับรองของ กพร. กรมส่งเสริมสหกรณ์
การประเมินเพื่อประกาศเกียรติคุณ
1. การดำเนินงานในรูปแบบคณะกรรมการ/คณะทำงาน
นโยบายการพัฒนาเด็กปฐมวัย
ตัวชี้วัดการดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหาร สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
การเตรียมความพร้อมกรมอนามัย เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
แนวทางการดำเนินงานโครงการสำคัญ ปีงบประมาณพ.ศ.2554 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร
โดย : สำนักพัฒนามาตรฐานและทดสอบฝีมือแรงงาน
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
กิจกรรมประชุมพัฒนาการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคระดับจังหวัด ในเขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 4,5 ( การปรับปรุงการบริหารจัดการที่สนับสนุนการ ขับเคลื่อนงานอำเภอ.
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
ประเด็นการประชุมกลุ่ม
กลุ่มโรคติดต่อนำโดยแมลง
แนวทางการดำเนินการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกปี2550
ตัวชี้วัดที่ 2.4 ระดับความสำเร็จของการจัดทำระบบการบริหารความเสี่ยงและการควบคุม-ภายใน ประจำปีงบประมาณ 2557.
การบังคับใช้กฎหมายบุหรี่-สุรา ปี 2552
การวิเคราะห์แผนงบลงทุน ปี 2552 และแผนยุทธศาสตร์งบลงทุน ปี
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
การบริหารความเสี่ยง (Risk Management)
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
โครงการบริหารความเสี่ยงทั่วทั้งองค์กร (Enterprise Risk Management : ERM) สำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
เป้าหมายการประชุม บูรณาการการนิเทศ ติดตาม ประเมินผลใน รพ.สต.
MIND MAPงานสุขภาพศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ตัวชี้วัดงานอาชีวอนามัย ความสำเร็จการประเมินความเสี่ยงจากการทำงานของบุคลากรในโรงพยาบาล ปี 2555 ร้อยละของความสำเร็จ การประเมินความเสี่ยงจากการทำงานของบุคลากรในโรงพยาบาล.
Strategy Map สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร ปีงบประมาณ พ.ศ.2553
Strategy Map สำนักส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 4 จังหวัดขอนแก่น ปีงบประมาณ พ.ศ ร้อยละหรือระดับความสำเร็จของการดำเนินงานโครงการ/กิจกรรมตามแผนงานโครงการปี
ตัวชี้วัด เป้าหมาย แนวทางดำเนินงาน ของกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค
นายแพทย์สมพงษ์ สกุลอิสริยาภรณ์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ
ตามเกณฑ์มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ
เภสัชกร 7 กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดหนองคาย
การตรวจประเมินรับรอง รอบ 2 มาตรฐานงานสุขศึกษา
การชี้แจงตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านคุณภาพบริการ ร้อยละของอาเภอที่มีทีม miniMERT, MCATT, SRRT คุณภาพ ธีราภา ธานี พยาบาลวิชาชีพชำนาญ.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
จังหวัดไร้พุงมุ่งสู่สุขภาพดี
และการนำไปใช้ประโยชน์
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ (Thailand Public Service Awards)
แนวทางการดำเนินการ พัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ประจำปี 2553.
มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
รายงานผลการดำเนินงานตามคำมั่นการปฏิบัติ ราชการ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ระหว่าง เดือนตุลาคม 2555 ถึง เดือนมกราคม 2556 งานพัฒนาบุคลากร กลุ่มพัฒนาวิศวกรรม.
1 การพัฒนาระบบการ ปฏิบัติงาน ของสำนักงาน พาณิชย์จังหวัด โดย รองปลัดกระทรวงพาณิชย์ ( นาง ไพเราะ สุดสว่าง ) วันอาทิตย์ที่ 22 มิถุนายน 2551 ณ โรงแรมริชมอนด์
เกณฑ์การประกวดอำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทางการดำเนินงานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ฉบับบูรณาการ กรมอนามัย และ กรมควบคุมโรค (HPH PLUS) ปีงบประมาณ 2552 ภายใต้ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ของกลุ่มภารกิจพัฒนาการสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข

ตัวชี้วัดและเป้าหมายตามแผนปฎิบัติราชการและภารกิจหลัก ปีงบประมาณ พ. ศ ตัวชี้วัดและเป้าหมายตามแผนปฎิบัติราชการและภารกิจหลัก ปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 กลุ่มภารกิจด้านพัฒนาการสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข ตัวชี้วัด 2.1 ระดับความสำเร็จของการสนับสนุน ให้โรงพยาบาลมีกระบวนการเป็นโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพ

วัตถุประสงค์ การนำเกณฑ์มาตรฐานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพที่ บูรณาการระหว่างมาตรฐานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพของ กรมอนามัย และ เกณฑ์การประเมินของกรมควบโรค ใน 3 ประเด็น คือ 1. การควบคุมความเสี่ยงจากการทำงาน 2. การควบคุมการบริโภคยาสูบเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์ 3. การควบคุมโรคไข้เลือดออก เพื่อไปการดำเนินการเยี่ยมประเมินโรงพยาบาลแบบบูรณาการ ให้บรรลุเป้าหมายตัวชี้วัด2.1

เป้าหมาย - โรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข โรงพยาบาลที่ยังไม่ขอรับการประเมิน 13 แห่ง โรงพยาบาลที่ขอรับการประเมินรับรองซ้ำ 185 แห่ง - โรงพยาบาลนอกสังกัดกระทรวงสาธารณสุข 25 แห่ง

เกณฑ์การให้คะแนน. ระดับ 1 = 20. ระดับ 2 = 40. ระดับ 3 = 60 เกณฑ์การให้คะแนน ระดับ 1 = 20 ระดับ 2 = 40 ระดับ 3 = 60 ระดับ 4 = 80 ระดับ 5 = 100

เป้าหมายและเกณฑ์การให้คะแนนแต่ละเขต กรมอนามัย / ศูนย์อนามัย น้ำหนัก ข้อมูล ปี 2551 เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับร้อยละของผลสำเร็จตามเป้าหมาย 20 40 60 80 100 กรมอนามัย รพ.ในสังกัด 0.5 214 - 168 178 188 198 รพ.นอกสังกัด 37 10 15 25 ศอ.1 28 1 2 3 4 5 6 9 12 14 ศอ.2 8 16 ศอ.3 17 13

เป้าหมายและเกณฑ์การให้คะแนนแต่ละเขต กรมอนามัย / ศูนย์อนามัย น้ำหนัก ข้อมูล ปี 2551 เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับร้อยละของผลสำเร็จตามเป้าหมาย 20 40 60 80 100 ศอ.4 รพ.ในสังกัด 0.5 12 5 10 15 25 รพ.นอกสังกัด 4 - 1 ศอ.5 6 8 14 16 ศอ.6 24 2

เป้าหมายและเกณฑ์การให้คะแนนแต่ละเขต กรมอนามัย / ศูนย์อนามัย น้ำหนัก ข้อมูล ปี 2551 เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับร้อยละของผลสำเร็จตามเป้าหมาย 20 40 60 80 100 ศอ.7 รพ.ในสังกัด 0.5 13 5 10 15 25 รพ.นอกสังกัด 3 - 1 ศอ.8 2 4 6 8 ศอ.9 18 9 12 14

เป้าหมายและเกณฑ์การให้คะแนนแต่ละเขต กรมอนามัย / ศูนย์อนามัย น้ำหนัก ข้อมูล ปี 2551 เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับร้อยละของผลสำเร็จตามเป้าหมาย 20 40 60 80 100 ศอ.10 รพ.ในสังกัด 0.5 9 4 8 12 16 รพ.นอกสังกัด 3 - 1 2 ศอ.11 5 ศอ.12 29

หน่วยงานที่มีบทบาทเกี่ยวข้อง ต่อการบรรลุเป้าหมาย

รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข กลุ่มภารกิจ ด้านพัฒนาการด้านสาธารณสุข บทบาทส่วนกลางกรมอนามัยและกรมควบคุมโรค (สำนักส่งเสริมสุขภาพ สำนักโรคจากการประกอบอาชีพ และสิ่งแวดล้อม สำนักงานคณะกรรมการควบคุมเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์และยาสูบ และสำนักโรคติดต่อนำโดยแมลง) จัดทำคำสั่งแต่งตั้งทีมเยี่ยมสำรวจร่วมกันระหว่างศูนย์อนามัย กับ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคติดต่อ ทั้ง 12 เขต ลงนามโดย รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข กลุ่มภารกิจ ด้านพัฒนาการด้านสาธารณสุข

จัดประชุมบูรณาการเกณฑ์การเยี่ยมประเมินโรงพยาบาล ทั้ง 4 เรื่อง คือ บทบาทส่วนกลางกรมอนามัยและกรมควบคุมโรค (สำนักส่งเสริมสุขภาพ สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม สำนักงานคณะกรรมการ ควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และยาสูบ และสำนักโรคติดต่อนำโดยแมลง) จัดประชุมบูรณาการเกณฑ์การเยี่ยมประเมินโรงพยาบาล ทั้ง 4 เรื่อง คือ มาตรฐานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ การประเมินความเสี่ยงจากการทำงานของบุคลากรในโรงพยาบาล การสำรวจลูกน้ำยุงลาย (ค่า CI) แนวทางการจัดสถานที่สาธารณะให้เป็นเขตปลอดบุหรี่สำหรับสถานที่ / หน่วยงานราชการ ร่วมกับ กรมควบคุมโรค

4. จัดประชุมคณะกรรมการพิจารณาตัดสินโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ บทบาทส่วนกลางกรมอนามัยและกรมควบคุมโรค (สำนักส่งเสริมสุขภาพ สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม สำนักงานคณะกรรมการ ควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และยาสูบ และสำนักโรคติดต่อนำโดยแมลง) 3. การพัฒนาทีมประเมินและทีมเยี่ยมสำรวจให้แก่ศูนย์อนามัย และ สำนักงานป้องกันควบคุมโรค 4. จัดประชุมคณะกรรมการพิจารณาตัดสินโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ รายงานผลการดำเนินงานรอบ 6 ,9 และ 12 เดือน

กิจกรรมที่ดำเนินการไปแล้ว การประชุมการบูรณาการการดำเนินงานตัวชี้วัด 2.1 เมื่อวันที่ 9-10 มี.ค.52 โรงแรมริชมอนด์ ผู้เข้าประชุมประกอบ ผู้บริหาร ผู้ปฏิบัติงานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพจากศูนย์อนามัยที่ 1-12 และสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1-12

กิจกรรมที่ดำเนินการไปแล้ว ประเด็นสำคัญที่ได้ดำเนินการ มีดังนี้ นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข หัวหน้ากลุ่มภารกิจด้านพัฒนาการสาธารณสุข ได้มอบนโยบายตามตัวชี้วัด 2.1 โดยให้เน้น กลยุทธและรูปแบบการส่งเสริมสุขภาพบุคลากร และการส่งเสริมสุขภาพผู้รับบริการและครอบครัวที่มีความเป็นรูปธรรม มีผลลัพธ์ ผู้เข้าประชุมได้รับการพัฒนาศักยภาพในเรื่องเทคนิคและทักษะของการเยี่ยมประเมินโรงพยาบาล โดยวิทยากร จาก สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล

กิจกรรมที่ดำเนินการไปแล้ว ผู้เข้าประชุมได้มีการประชุมกลุ่ม * เพื่อวางแผนประเมินโรงพยาบาลร่วมกัน * การเขียนรายงานแบบบูรณาการ * การให้คะแนนโดยใช้เกณฑ์ HA / HPH

บทบาทศูนย์อนามัยที่ 1-12 และ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1-12 1. การทำความเข้าใจมาตรฐาน HPH และแนวทางการ บูรณาการกับกรมควบคุมโรค 2. การร่วมจัดทำแผนการเยี่ยมประเมินโรงพยาบาลส่งเสริม สุขภาพระหว่างศูนย์อนามัย และสำนักงานป้องกันควบคุมโรค 3. การเข้าเยี่ยมประเมินและรับรองโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพร่วมกัน โดยผนวกกับ 3 ประเด็นด้านควบคุมโรค

ศูนย์อนามัยที่ 1-12 และ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1-12 4. การเขียนรายงาน เมื่อศูนย์อนามัยที่ 1-12 และ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1-12 ได้ดำเนินการเยี่ยมประเมินโรงพยาบาลแบบบูรณาการร่วมกันเสร็จสิ้น จะต้องเขียนรายงานแบบบูรณาการร่วมกัน และนำเสนอคณะกรรมการพิจารณาตัดสิน

การประเมินผล พิจารณาจากจำนวนโรงพยาบาลใน/นอกสังกัดกระทรวงสาธารณสุขที่ผ่านการประเมินรับรองตามกระบวนการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพแบบบูรณาการและได้รับการพิจารณาตัดสินจากคณะกรรมการพิจารณาตัดสินโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ

หลักฐานที่จำเป็น รายงานการประชุมแบบบูรณาการระหว่างศูนย์อนามัยที่ 1-12 และสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1-12 รายงานผลการเยี่ยมประเมินและรับรองโรงพยาบาลแบบบูรณาการระหว่างศูนย์อนามัยที่ 1-12 และสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1-12 (ในและนอกสังกัดกระทรวงสาธารณสุข)

การรายงานผลการดำเนินงาน E-mail :Workingage@hotmail .com

ผู้กำกับงานตัวชี้วัดที่ 2.1 นพ.ชื่น เตชามหาชัย นายแพทย์ (ด้านสาธารณสุข) ระดับ เชี่ยวชาญ โทรศัพท์ : 0 2590 4518 นางจารุวรรณ จงวนิช นักวิชาการสาธารณสุข ระดับ ชำนาญการพิเศษ นางพรทิพย์ กาสลัก โทรศัพท์ : 0 2590 4524 โทรสาร : 0 2590 4512 e-mail : woravitguy@anamai.moph.go.th หน่วยงาน : สำนักส่งเสริมสุขภาพ

สวัสดี