นโยบายและทิศทางการส่งเสริมสุขภาพในยุคแห่งการเปลี่ยนแปลง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
Advertisements

สัปดาห์ที่ 2 เรื่อง โครงการสุขศึกษา
แผนภูมิโครงสร้างส่วนราชการของกระทรวงสาธารณสุข
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
กระทรวงสาธารณสุข (ร่าง)โครงสร้างส่วนราชการของกระทรวงสาธารณสุข
ดร. ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์
สภาพปัจจุบันและปัญหาสาธารณสุขของประเทศและท้องถิ่น
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
การบริหารงบ PP ปี 52 งบ PP เขต จว./อำเภอ Non-UC สธ. Non-UC สปสช.
การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กับกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
บทบาท “ Six Key Function” ในจังหวัดภาคกลางตะวันตก
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
การสำรวจหา ค่ากลาง นโยบายรัฐบาล เรื่องการพัฒนาสุขภาพของ ประชาชน ประกาศเมื่อ 23 สิงหาคม จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมี เป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
หัวหน้ากลุ่มโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
นโยบาย และแนวทางการแก้ไขปัญหาโรคเบาหวาน ระดับประเทศและภูมิภาค
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
สรุปกรอบบริหารงบเหมาจ่ายราย หัวปี ประเภทบริการปีงบ 2551ปีงบ บริการผู้ป่วยนอก (OP) บริการผู้ป่วยใน (IP)*
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
น.พ.ณรงค์ศักดิ์ อังคะสุวพลา อธิบดีกรมอนามัย
แนวทางการดำเนินงานของกรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ 2551
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
แนวทางการบริหารงบประมาณสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคระดับพื้นที่
นพ. จักรกริช โง้วศิริ ผจก. กองทุนสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
ระเบียบวาระการเตรียมทีมนิเทศงาน ปี 2557
บุหรี่และสุรา ความแตกต่างของปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพระหว่าง ครัวเรือนที่มีเศรษฐานะและระดับการศึกษาที่แตกต่างกัน วิชัย โชควิวัฒน สุพล ลิมวัฒนานนท์ กนิษฐา.
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
ส่งเสริมสัญจร.
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
ทิศทางการจัดสรร งบกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ประจำปี 2551
การพัฒนาศักยภาพบุลากร ด้านการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย วันที่ กันยายน 2552 ณ ห้องประชุมคณาพันธ์ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอำนาจเจริญ.
การจัดบริการสุขภาพ ผู้สูงอายุไทย
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
สรุปการประชุมกลุ่มย่อยที่ 1
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
วิสัยทัศน์ อบต. หนองหญ้า “ ส่งเสริมการศึกษา พัฒนาแหล่งน้ำ เสริมสร้างคุณภาพชีวิต ชุมชนเข้มแข็ง แหล่งท่องเที่ยวก้าวไกล สืบสานวัฒนธรรมไทย การบริหาร โปร่งใส.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
ข้อมูลสารสนเทศและ การบริหารจัดการงบ P&P
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
ทิศทางการพัฒนางานสุขศึกษาและพฤติกรรมสุขภาพ
และการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ ประจำปี ๒๕๕๕ สาธารณสุขอำเภอป่าติ้ว
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ แผนงาน เป้าหมายการให้บริการกระทรวง เป้าหมายการให้บริการหน่วยงาน ผลผลิต/โครงการและงบประมาณปี 2554 กรมควบคุมโรค.
“ทิศทางการบริหารจัดการเชิงยุทธศาสตร์ กรมควบคุมโรค
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
Output , Outcome , Impact ของระบบสุขภาพ
ขับเคลื่อนงานด้านโรคไม่ติดต่อ และการบาดเจ็บ
นโยบายและทิศทางการส่งเสริมสุขภาพในยุคแห่งการเปลี่ยนแปลง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นโยบายและทิศทางการส่งเสริมสุขภาพในยุคแห่งการเปลี่ยนแปลง โดย นายแพทย์ณรงค์ศักดิ์ อังคะสุวพลา อธิบดีกรมอนามัย

ความเชื่อมโยงและพลวัตที่เกี่ยวกับสุขภาพ เศรษฐกิจ กรรมพันธุ์ การศึกษา ประชากร ครอบครัว และการอพยพย้ายถิ่น พฤติกรรม สุขภาพ สุขภาพ ค่านิยม /ความเชื่อ และวัฒนธรรม ปัจเจกบุคคล สภาพแวดล้อม ความเชื่อ การเมือง/การปกครอง สิ่งแวดล้อม จิตวิญญาณ โครงสร้างพื้นฐาน เทคโนโลยี ระบบริการ สุขภาพ เสมอภาค / ความครอบคลุม คุณภาพ / ประสิทธิภาพ ประเภท และระดับบริการ รัฐ / เอกชน พลวัต

ยุคแห่งการเปลี่ยนแปลง

ยุคแห่งการเปลี่ยนแปลง : ปัจจัยการเปลี่ยนแปลงระดับโลก/ประเทศ ผลกระทบระดับโลก/ประเทศ ปัจจัย ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ภาวะโลกร้อน อุบัติภัยทางธรรมชาติ เช่น น้ำท่วม แผ่นดินไหว สภาพภูมิอากาศเปลี่ยนแปลงรุนแรง ทรัพยากรธรรมชาติเปลี่ยนแปลง ทำให้เกิดโรคต่างๆ เช่นโรคติดต่อและไม่ติดต่อโรคจากแมลง โรคขาดสารอาหาร วิกฤติการด้านอาหาร ปัจจัย ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง เศรษฐกิจ การเงิน/การคลัง เศรษฐกิจการค้า การค้าระหว่างประเทศ เศรษฐกิจการเงิน ปัจจัย ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง สังคม การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากร และการย้ายถิ่น การศึกษา ที่พักอาศัย ประชากรพึ่งพึงสูงขึ้น แรงงานข้ามชาติ ความรอบรู้และตระหนักเรื่องสุขภาพ ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ โลกไร้พรมแดน การใช้วิทยาการทางการแพทย์ค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพสูง ปัจจัย ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง เทคโนโลยี เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เทคโนโลยีการแพทย์ ปัจจัย ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง การเมือง ความเป็นธรรม/เสมอภาคและสงบสุข ประชาชน/สังคมอยู่เย็นเป็นสุข

ยุคแห่งการเปลี่ยนแปลง : ปัจจัยการเปลี่ยนแปลงระดับโลก/ประเทศ ผลกระทบระดับโลก/ประเทศ บทบาทหน้าที่ของกระทรวง/กรมในเชิงเสนอและผลักดันนโยบาย บทบาทด้านวิชาการที่เข็มแข็งของกระทรวง กรมต่าง ๆ ปัจจัย ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง โครงสร้างองค์กร การปรับโครงสร้างขององค์กร ปัจจัย ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง การเมือง/นโยบาย พรบ. สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2540 และ พ.ศ. 2550 และธรรมนูญสุขภาพ การค้าระหว่างประเทศ เศรษฐกิจการเงิน การเกิดโรคติดต่อใหม่และอุบัติซ้ำ โรคไม่ติดต่อ เบาหวาน ความดันโลติตสูง โรคหลอดเลือดสมอง หลอดเลือดหัวใจอุดตัน และมะเร็ง ภาระโรคจากปัจจัยเสี่ยง การใช้ยาเวชภัณฑ์และเครื่องแพทย์ที่มีราคาสูง ปัจจัย ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง งบประมาณ การบริหารงบประมาณตามรัฐธรรมนูญ ปัจจัย ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง เทคโนโลยี เทคโนโลยีทางสุขภาพ เทคโนโลยีทางการแพทย์ละสาธารณสุข การใช้ยาเวชภัณฑ์และเครื่องมือแพทย์ที่มีราคาสูง การบังคับใช้สิทธิบัตรยาในประเทศไทย

ผลกระทบต่อสุขภาวะคนไทย

การสูญเสียปีสุขภาวะคนไทย (Daly’s LOSS) กลุ่มอายุ ปัญหาสุขภาพ แรกเกิด – 14 ปี ทารกน้ำหนักน้อย ทารกขาดออกซิเจน 15 – 29 ปี เอดส์ อุบัติเหตุ ยาเสพติด จิตเภท พิษสุราเรื้อรัง 30 – 59 ปี เอดส์ อุบัติเหตุ เบาหวาน มะเร็งตับ 60 ปีขึ้นไป โรคหลอดเลือดสมอง ถุงลมโป่งพอง เบาหวาน

สาเหตุสำคัญของการสูญเสียปีสุขภาวะ (DALY’s loss) ในประเทศไทย พ. ศ ลำดับ ที่ เพศชาย เพศหญิง โรค DALYs loss ร้อยละ 1. เอชไอวี/เอดส์ 600,004 11.3 หลอดเลือดสมอง 307.131 7.9 2. อุบัติเหตุจราจรทางบก 329,068 6.2 290,711 7.5 3. ติดสุรา เบาหวาน 267,549 6.9 4. 305,105 5.7 ซึมเศร้า 191,490 4.9 5. มะเร็งตับ 294,868 5.5 140,480 3.6 6. หัวใจขาดเลือด 178,011 3.3 อุบัติหตุจราจรทางบก 135,832 3.5 7. หลอดลมอุดกั้นเรื้อรัง 175,549 117,790 3.0 8. 168,702 3.2 ข้อเข่าเสื่อม 9. 136,895 2.6 112,663 2.9 10. ตับแข็ง 133,046 2.5 ต้อกระจก 110,572 2.8

จำนวนผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจตีบตันที่เข้ารับ การรักษาในสถานบันโรคหัวใจ พ.ศ. 2538 - 2549 จำนวน (ราย) ความชุกของโรคไม่ติดต่อ โรคเรื้อรัง ทั้ง มะเร็ง โรคหัวใจ เบาหวาน และความดันโลหิตสูง มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น พ.ศ. ที่มา : สถาบันโรคหัวใจ กรมการแพทย์

อัตราการเข้าพักรักษาตัวในโรงพยาบาล (ต่อประชากร 100,000 คน) ของโรคหัวใจ โรคมะเร็ง และโรคเบาหวาน พ.ศ. 2528 – พ.ศ. 2549 ต่อประชากร 100,000 คน พ.ศ. ที่มา : รายงานผู้ป่วนใน สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข หมายเหตุ : ความชุกของโรคมะเร็ง ตั้งแต่ พ.ศ. 2537 แสดงเฉพาะมะเร็งตับ ปอด มดลูก และเต้านม เท่านั้น

อัตราอุบัติการณ์ของโรคมะเร็งปากมดลูก และมะเร็งเต้านมในสตรีกรุงเทพมหานครระหว่าง พ.ศ. 2536 - 2540 ต่อประชากร 100,000 คน พ.ศ. ที่มา : สถาบันมะเร็งแห่งชาติ กรมการแพทย์

อุบัติการณ์ต่อประชากร 100,000 คน เพศชาย เพศหญิง 2536 37.4 15.5 2539 อุบัติการณ์มะเร็งตับต่อประชากร 100,000 คน ของประเทศไทย พ.ศ. 2536, 2539, 2542 และ 2543 พ.ศ. อุบัติการณ์ต่อประชากร 100,000 คน เพศชาย เพศหญิง 2536 37.4 15.5 2539 40.5 16.0 2542 38.6 14.3 2543 31.2 11.5 ที่มา : Cancer in Thailand, 1995 - 2000

ร้อยละของผู้ป่วยโรคมะเร็งปอดที่เข้ารับการรักษา ในสถาบันมะเร็งระหว่าง พ ร้อยละของผู้ป่วยโรคมะเร็งปอดที่เข้ารับการรักษา ในสถาบันมะเร็งระหว่าง พ.ศ. 2529 - 2548 ร้อยละ พ.ศ. ที่มา : สถาบันมะเร็งแห่งชาติ กรมการแพทย์ หมายเหตุ : เป็นร้อยละของผู้ป่วยมะเร็งทั้งหมด

อัตราตาย และอัตราการบาดเจ็บจากอุบัติเหตุจราจร ต่อประชากร 100,000 คน ประเทศไทย พ.ศ. 2527 - 2540 จำนวนอุบัติเหตุ (ราย) พ.ศ. ที่มา : ศูนย์ข้อมูลข้อสนเทศ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ

อัตราการออกกำลังกายของประชากรอายุ 11 ปีขึ้นไป พ.ศ. 2530 - 2550 อัตราการออกกำลังกายของประชากรอายุ 11 ปีขึ้นไป พ.ศ. 2530 - 2550 ร้อยละ พ.ศ. ที่มา : 1. รายงานการสำรวจพฤติกรรมการเล่นกีฬาและการดูกีฬาของประชากร อายุ 6 ปีขึ้นไป พ.ศ. 2530, 2535, 2540 และ 2545 , สำนักงานสถิติแห่งชาติ 2. รายงานการสำรวจพฤติกรรมการออกกำลังกายของประชากรอายุ 11 ปีขึ้นไป พ.ศ. 2547. สำนักงานสถิติแห่งชาติ

ผลกระทบต่อองค์กร (กรมอนามัย)

งบประมาณกรมอนามัย ปีงบประมาณ 2549 - 2551 งบประมาณกรมอนามัย ปีงบประมาณ 2549 - 2551 แหล่งข้อมูล: เอกสารงบประมาณรายจ่ายไม่รวมหมวดเงินเดือนและลูกจ้างประจำ

อัตรากำลัง กรมอนามัย ปีงบประมาณ 2547-2551 แหล่งข้อมูล: กองการเจ้าหน้าที่ กรมอนามัย

การจัดสรรงบประมาณ PP สปสช คำนวณจาก 253.01 บาทต่อปชก.สิทธิ UC ที่จำนวนปชก.UC 46.477 ล้านคน จัดสรรพร้อมเงื่อนไขผลงานตาม composite indicator โดย สสจ. และ สาขา กทม.เป็น P&P manager PP Capitation (186.27บาทต่อหัว) 63.131 ล้านคน PP Vertical program (15.47) ระดับประเทศ PP Community (37.50) ระดับชุมชน PP Facility (5 กิจกรรมหลัก) (82.43) ระดับ CUP PP Area based (50.87) ระดับพื้นที่ กรม กองทุนตำบล จังหวัดจัดสรรให้ Cup + PCU (เฉพาะ ปชก.พื้นที่ที่ไม่มีกองทุนตำบล) Cup (Diff. by age group) สปสช. สาขาจว. 65% สปสช. สาขาเขต 35 % จังหวัดจัดสรรให้ Cup ที่มา: สปสช 5 กิจกรรมหลัก ได้แก่ ANC, PNC, FP, EPI ทุกช่วงอายุ, อนามัยเด็กเล็ก

การบริหารงบ PP Community Based (37.50 บาท : หัวประชากร) จังหวัดจัดสรรให้ Cup + PCU (เฉพาะ ปชก. พื้นที่ที่ไม่มีกองทุนตำบล) กองทุนตำบล ที่มา: สปสช

ข้อสังเกตจากการนิเทศ จังหวัดตั้งตัวไม่ทัน มีแผน แต่บางพื้นที่ยังบูรณาการไม่ได้ดี ความไม่ชัดเจนระหว่างการจัดสรร (Allocation) กับ (Payment) กระบวนการบริหารจัดการที่หลากหลาย - เชิงยุทธศาสตร์ - เชิงแผนงาน / โครงการ

ข้อสังเกตจากการนิเทศ ขาดระบบตรวจสอบ คุณภาพโครงการ - สภาพปัญหา สถานการณ์ไม่มี - ประชากรเป้าหมาย ไม่ชัดเจน - มาตรการเดิม ๆ ตัวชี้วัดมาก กพร/PMQA1Composite indicator รายงานอิเล็กทรอนิกส์ กรอบแนวคิดถูกตีกรอบ

นโยบายและทิศทางส่งเสริมสุขภาพ

สาระสำคัญธรรมนูญสุขภาพ 12 2 จัดให้มีหลักประกัน และ ความคุ้มครอง ให้เกิดสุขภาพ 11 การสร้างเสริมสุขภาพ 3 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ และเป้าหมาย การป้องกัน และควบคุมโรคและ ปัจจัยที่คุกคามสุขภาพ 10 การเงิน การคลังด้าน สุขภาพ 1 การบริการ สาธารณสุขและ ควบคุมคุณภาพ 4 ปรัชญาและแนวคิด 5 9 ผลิตพัฒนาบุคลากร สาธารณสุข สนับสนุนการใช้ภูมิปัญญา ท้องถิ่น การแพทย์ แผนไทย แพทย์ทางเลือก เผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร ด้านสุขภาพ การคุ้มครอง ผู้บริโภคด้านสุขภาพ การสร้าง และเผยแพร่องค์ ความรู้ด้านสุขภาพ 6 8 7 ที่มา : พ.ร.บ.สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550

ประชาชน รัฐ เอกชน Bangkok Charter In A Globalize World Build capacity Partner ออตตาวา เพิ่มความสามารถของชุมชน พัฒนาทักษะบุคคล สร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ ปรับระบบบริการสุขภพ สร้างนโยบายสาธารณะ เพื่อสุขภาพ ประชาชน รัฐ Advocate Invest MEANs (ยุทธ์วิธี) - Planning - Allocate Resource - Target - Indicator - Monitoring - Report เอกชน Regulate and Legislate

Six Key Functions to High Performance Organization Six keys function of High Performance Organization Organization Development R & D M & E Consumer Protection Healthy People Thailand Knowledge Management Provider Support Information Funder Alliance Surveillance M & E Human Resource Development

5 กลยุทธ์สำคัญของกรมอนามัย พัฒนาความเข้มแข็ง และสร้างการมีส่วนร่วมกับภาคีเครือข่าย (Partner) ลงทุน (Invest) เพื่อการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบงานที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์องค์กร พัฒนากระบวนการกำหนดนโยบายสาธารณะ และกฎหมายด้านสุขภาพ (Regulate and Legislate) จากฐานความรู้ที่สอดคล้องกับ สภาพปัญหา และวิถีชีวิตคนไทย สร้างความตระหนัก (Advocacy) เพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของประชาชน พัฒนาสมรรถนะบุคลากร (Build Capacity) ให้เป็นมืออาชีพและทันต่อการเปลี่ยนแปลง

พัฒนาความเข้มแข็ง และสร้างการมีส่วนร่วมกับภาคีเครือข่าย พัฒนาความร่วมมือ และการมีส่วนร่วม เสริมสร้างศักยภาพกับภาคีเครือข่าย ทุกระดับ สร้างเสริมการสร้างความสัมพันธ์ และภาพลักษณ์ที่ดี พัฒนากระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน

ลงทุน เพื่อการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบงานที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์องค์กร มุ่งเน้นคุณภาพ บริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) ทั่วทั้งองค์กร จัดตั้งศูนย์การเรียนรู้ พัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการและการเรียนรู้ พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารงบประมาณ

พัฒนากระบวนการกำหนดนโยบายสาธารณะและกฎหมายด้านสุขภาพจากฐานความรู้ ที่สอดคล้องกับสภาพปัญหาและวิถีชีวิตคนไทย พัฒนาวิชาการให้มีคุณภาพ และใช้แก้ไขปัญหาได้ จัดทำแผนยุทธศาสตร์ ข้อเสนอเชิงนโยบาย มาตรการทางกฎหมายแบบมีส่วนร่วม จัดให้มีกลไกคณะกรรมการที่ปรึกษาภาคประชาชน เพื่อการมีส่วนร่วม พัฒนาระบบติดตามประเมินผล

สร้างความตระหนักเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของประชาชน พัฒนาการสื่อสารความเสี่ยง ร่วมมือและเสริมสร้างศักยภาพองค์กร ภาคประชาชน สร้างภาพลักษณ์องค์กรที่ดีต่อประชาชน พัฒนาช่องทางการเรียนรู้

พัฒนาสมรรถนะบุคลากรให้เป็นมืออาชีพ และทันต่อการเปลี่ยนแปลง พัฒนาระบบจัดการทรัพยากรบุคคล สร้างช่องทางการสื่อสารภายในองค์กร เสริมสร้างองค์กรด้วยระบบการจัดการความรู้

"ส่งเสริมให้คนไทยสุขภาพดี" กรมอนามัย "ส่งเสริมให้คนไทยสุขภาพดี"