สถานการณ์ด้านสังคมและสุขภาพ ที่ต้องเจอ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
Advertisements

ชื่อโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด
นโยบายและงานเร่งด่วนของกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕
แผนภูมิโครงสร้างส่วนราชการของกระทรวงสาธารณสุข
ดร. ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์
ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค
การขับเคลื่อนองค์กรไร้พุง
การขับเคลื่อนโครงการคนไทยไร้พุง นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดชลบุรี
การบริหารงบ PP ปี 52 งบ PP เขต จว./อำเภอ Non-UC สธ. Non-UC สปสช.
เล่าเรื่อง หัวใจแห่งความสำเร็จ การส่งเสริมสุขภาพ
การดำเนินงานเพื่อลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและเยาวชน
ฟันดี สุขภาพดี ชีวีมีสุข ทพ.สุธาเจียรมณีโชติชัย ผอ.สำนักทันตสาธารณสุข
การป้องกันควบคุมโรคขาดสารไอโอดีน
บทบาท “ Six Key Function” ในจังหวัดภาคกลางตะวันตก
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร
ความหมายและกระบวนการ
การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติรอบที่ 1 ปีงบประมาณ จังหวัดสุรินทร์
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
คุณลักษณะที่ ๒ มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ
การประชุมเชิงปฏิบัติการใช้ค่ากลาง
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
นโยบาย และแนวทางการแก้ไขปัญหาโรคเบาหวาน ระดับประเทศและภูมิภาค
ตัวชี้วัดและแนวทางการดำเนินงาน คุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในส่วนภูมิภาค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ โดย กองพัฒนาศักยภาพผู้บริโภค.
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
ศูนย์อนามัยที่๔ ราชบุรี
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข ปี 2552 “อาหารปลอดภัย เด็กไทยฉลาด”
แนวทางการดำเนินงานของกรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ 2551
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ภารกิจ อสม.งานประจำ/งานนโยบาย
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายสำคัญของกระทรวงสาธารณสุข
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
ห้องประชุมสานฝัน โรงพยาบาลสังขะ
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ปีงบประมาณ 2553
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
ภาพฝัน ? การป้องกันควบคุมโรคในพื้นที่
ส่งเสริมสัญจร.
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
โครงการ หมู่บ้าน/ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม
โครงการหมู่บ้าน / ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
การดำเนินงานโครงการสำคัญ และตัวชี้วัดความสำเร็จการดำเนินงาน กลุ่มที่ 2 (6.วัยรุ่น 7.วัยทำงาน 8.ป้องกันควบคุมปัจจัยเสี่ยง)
บทบาท อสม.เชิงรุก ๑. เป็นผู้นำทางความคิดและผู้นำทางด้านสุขภาพในระดับชุมชน ในการลดโรค ๕ โรคสำคัญที่เป็นสาเหตุการตายลำดับต้นๆของประชาชน คือ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง.
วิสัยทัศน์ อบต. หนองหญ้า “ ส่งเสริมการศึกษา พัฒนาแหล่งน้ำ เสริมสร้างคุณภาพชีวิต ชุมชนเข้มแข็ง แหล่งท่องเที่ยวก้าวไกล สืบสานวัฒนธรรมไทย การบริหาร โปร่งใส.
นโยบายยางน้อยสุขภาพดี ไม่มีพุง
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
แนวทางการดำเนินงานสุขภาพจิต กลุ่มวัยทำงาน
จังหวัดไร้พุงมุ่งสู่สุขภาพดี
นโยบายองค์การบริหารส่วนตำบลศิลา อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น เรื่อง การสร้างสุขภาพประชาชน ในเขต อบต. ศิลา “ คนศิลากินดี อยู่ดี สุขภาพแข็งแรง ไม่มี ภาวะอ้วนลงพุง.
กรอบการจัดทำแผนพัฒนาโรงพยาบาล ร้อยเอ็ด ประจำปี ๒๕๕๖ แนวคิด ปี ๒๕๕๖ ปีแห่งการวิเคราะห์และประเมิน ตนเองอย่างเข้มข้น วิเคราะห์เพื่อ พัฒนางาน ให้ได้ตาม มาตรฐาน.
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
ทิศทางการพัฒนางานสุขศึกษาและพฤติกรรมสุขภาพ
และการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ ประจำปี ๒๕๕๕ สาธารณสุขอำเภอป่าติ้ว
ยุทธศาสตร์พัฒนาชุมชนน่าอยู่ เมืองน่าอยู่ ผลงาน ปี 2551 แผนงาน ปี 2552 ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก 2 กันยายน 2551.
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
วันรับรางวัล อสม.ดีเด่นระดับชาติประจำปี 2553 ณ หอประชุมเจ้าพระยา กองทัพเรือ กรุงเทพฯ วันที่ 24 มิถุนายน 2553.
“ทิศทางการบริหารจัดการเชิงยุทธศาสตร์ กรมควบคุมโรค
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
เกณฑ์การประกวดอำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
คู่มือสนับสนุนการดำเนินงานพัฒนาสุขภาพ กลุ่มวัยทำงานด้านโรคไม่ติดต่อ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แม่น้ำบางปะกงแหล่งชีวิต พระศักดิ์สิทธิ์หลวงพ่อโสธร พระยาศรีสุนทรปราชญ์ภาษาไทย อ่างฤาไนป่าสมบูรณ์

สถานการณ์ด้านสังคมและสุขภาพ ที่ต้องเจอ สังคมผู้สูงอายุ คนพิการ ทุพพลภาพ IQ-EQ เด็กไทย แม่วัยรุ่น ตั้งท้องไม่พร้อม โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เอดส์ ยาเสพติด แรงงานข้ามชาติ ภัยพิบัติและภาวะฉุกเฉิน

สถานะสุขภาพคนไทย อายุเฉลี่ยสูงขึ้น ความสูญเสีย จาก ชาย : โรคจากสุรา อุบัติเหตุ หลอดเลือดสมอง หญิง : เบาหวาน หลอดเลือดสมอง ซึมเศร้า โรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ โรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม อุบัติภัยสารเคมีรั่วไหล โรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่รุนแรงขึ้น

อ้วนลงพุง และพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสม ปี 2551-2552 คนไทยอายุ > 15 ปี BMI > 25 ร้อยละ 34.7 (17.6 ล้านคน) มีภาวะเมแทบอลิก ซินโดรม 10.7 ล้านคน บริโภคผักและผลไม้น้อยลง บริโภคหวาน มัน เค็ม มากเกินไป สูบบุหรี่ ดื่มสุรา การออกแรง ออกกำลังกายไม่เพียงพอ

ฆาตกรเงียบ ภูเขาน้ำแข็ง ฆาตกรเงียบ ภูเขาน้ำแข็ง เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หัวใจ หลอดเลือดสมอง มะเร็ง สุขภาพจิต

องค์กร/ชุมชนต้นแบบไร้พุง เพื่อคนฉะเชิงเทราลดพุง สาเหตุที่ต้อง ทำ -ฉะเชิงเทรา เป็นเมือง อู่ข้าว อู่น้ำ ข้าว ปลา อาหาร อุดมสมบูรณ์ มีฝีมือการปรุงอาหารดีเยี่ยม ครบรส เปรี้ยว หวาน มัน เค็ม -วิถีชีวิตที่เปลี่ยนไปจากสังคมเกษตรกรรม สู่สังคมอุตสาหกรรม ออกแรงกายน้อยลง กำลังการซื้อเพิ่มขึ้น ไม่ทำอาหารกินเอง

ประชาชนชายและหญิงอายุ 15 ปีขึ้นไป รอบเอวเกินเกณฑ์ ปี 2554 และรัฐวิสาหกิจ ทั่วไป การ สร้างสุขภาพ ที่มา : รายงานการวัดรอบเอวประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป จังหวัดฉะเชิงเทรา ปี 2554

ประชาชน ชายและหญิงอายุ 15 ปีขึ้นไป ที่มีรอบเอว เกินเกณฑ์ เปรียบเทียบ ปี 2553 และ 2554 สีเขียว ปี 2553 สีส้ม ปี 2554 ประกอบการ ทั่วไป ที่มา : รายงานการวัดรอบเอวประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป จังหวัดฉะเชิงเทรา ปี 2553-2554

กรอบการดำเนินงาน คลินิก DPAC เพื่อคน แปดริ้ว ลดพุง กำหนด / มอบ นโยบายให้ผู้บริหารหน่วยงานฯ คลินิก DPAC เป้าหมาย เน้น *โรงพยาบาลต้นแบบไร้พุง *ชุมชนต้นแบบไร้พุง *โรงเรียนต้นแบบไร้พุง เพื่อคน แปดริ้ว ลดพุง ระบบการเฝ้าระวัง ติดตาม ประเมินผล สร้างการมีส่วนร่วมจากทุกภาคีเครือข่าย ทุกภาคส่วน การสื่อสาร สร้างกระแส สู่สังคมเรื่อง ภัยอ้วนลงพุง

แนวทางการดำเนินงานจังหวัดฯ เพื่อตอบรับนโยบาย “คนไทยไร้พุง” จากส่วนกลาง จังหวัดฯ กำหนดนโยบายฯ สู่การปฏิบัติในพื้นที่ โดย ตำบลสุขภาวะ โรงพยาบาล ทุกแห่ง รพ.สต. ทุกแห่ง *สร้างการมีส่วนร่วมจากภาคีเครือข่าย สู่คนในชุมชนไร้พุง *เป็นชุมชนต้นแบบ ไร้พุงและทุกองค์กรในตำบลเป็นองค์กรต้นแบบไร้พุง *สำรวจพฤติกรรมบริโภค/ลด หวาน มัน เค็ม/ เฝ้าระวังฯ *จัดตั้งคลินิก DPAC *เฝ้าระวังและแก้ปัญหาภาวะอ้วนลงพุง *จัดตั้งคลินิก DPAC *เป็นองค์กรต้นแบบไร้พุง *เป็นองค์กร ลด หวาน มัน เค็ม มอบนโยบายในคราว ประชุมคณะกรรมการวางแผนประเมินและประชุมประจำเดือนกุมภาพันธ์ ๒๕๕๔ ณ ห้องประชุมสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดฉะเชิงเทรา

แลกเปลี่ยนฯการจัดตั้งคลินิก DPAC ของรุ่น ๑ ให้รุ่น ๒ ฟัง เสริมสร้างความรู้ แลกเปลี่ยนฯการจัดตั้งคลินิก DPAC ของรุ่น ๑ ให้รุ่น ๒ ฟัง

สร้างการมีส่วนร่วมจากทุกภาคีเครือข่าย ทุกภาคส่วน สร้างการมีส่วนร่วมจากทุกภาคีเครือข่าย ทุกภาคส่วน

การสื่อสาร สร้างกระแส สู่สังคมเรื่อง ภัยอ้วนลงพุง การสื่อสาร สร้างกระแส สู่สังคมเรื่อง ภัยอ้วนลงพุง

ดีใจค่ะ ผู้บริหารหุ่นดี

ผลการดำเนินงานจังหวัดฯ ชุมชนต้นแบบไร้พุง / โรงพยาบาลต้นแบบไร้พุง ผ่านการประเมินรับรอง จากศูนย์อนามัยที่ ๓ สามารถเป็นแหล่งเรียนรู้ ๔ แห่ง แหล่งเรียนรู้ชุมชนต้นแบบไร้พุง ๑.องค์การบริหารส่วนตำบลสิงโตทอง อำเภอบางน้ำเปรี้ยว -รางวัลชนะเลิศ การนำเสนอผลงานวิชาการ ของ สสจ.ฉะเชิงเทรา -รางวัลรองชนะเลิศ อันดับ ๑ ประกวดนำเสนอผลงานของเขตตรวจราชการฯ เขต ๓ -ได้รับการคัดเลือกจาก สช. นำเสนอผลงานจากเรื่องเล่า(อบต.ไร้พุง) ๒.ชุมชนบ้านต้นนา อำเภอพนมสารคาม แหล่งเรียนรู้โรงพยาบาลต้นแบบไร้พุง ๓.โรงพยาบาลบางปะกง อำเภอบางปะกง ชนะเลิศประกวดผลงานฯ ปี ๒๕๕๓ ๔.โรงพยาบาลพนมสารคาม อำเภอพนมสารคาม

การดำเนินงาน ปี ๒๕๕๔ สำเร็จได้ด้วยดีจาก... ผลการดำเนินงานจังหวัดฯ การดำเนินงาน ปี ๒๕๕๔ สำเร็จได้ด้วยดีจาก... ผู้บริหารทุกระดับ ให้และเห็นความสำคัญ กับการแก้ไขปัญหา ภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน เข้มแข็ง ให้ความร่วมมือ สร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการลดพุง การติดตามต่อเนื่อง มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ท่านกิตติ ทรัพย์วิสุทธิ์ ผู้ว่าราชการจังหวัดฯ ท่านบัณฑิตย์ เทวีทิวารักษ์ รองผู้ว่าราชการจังหวัดฯ

ปี ๒๕๕๑ ปี ๒๕๕๒ ปี ๒๕๕๓