หมวด7 15 คำถาม.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
ณ ห้องฟ้าตรัง 1 โรงแรม เอ็ม.พี. รีสอร์ท อ.เมือง จ.ตรัง
การบริหารจัดการภาครัฐ ( PMQA: Public Sector Management Quality Award )
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ
กรอบการนำเสนอ ส่วนที่ 2 สรุปสาระสำคัญ ส่วนที่ 1 ภาพรวม PMQA
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
การประชุมชี้แจงแนวทาง การดำเนินการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ มสธ. (STOU -PMQA) วันที่ 30 พฤศจิกายน 2552 ฝ่ายวางแผนและพัฒนาระบบงาน.
รายงานและการประเมินผล การปฏิบัติราชการตามคำรับรองฯ ของหน่วยงาน
1. ลักษณะองค์กร 1ก. ลักษณะพื้นฐาน ของส่วนราชการ 1ก(1) พันธกิจ
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
คำรับรองการปฏิบัติราชการ
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
แบบฟอร์มยืนยัน แผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
การติดตามประเมินผลการ ปฏิบัติราชการ (Site Visit II) รอบ 12 เดือน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ วันที่ 23 ธันวาคม 2551 ณ ห้องประชุมศาลาชื่นอารมณ์
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
หมวด2 9 คำถาม.
หมวด3 11 คำถาม.
หมวด 1 การนำองค์กร การให้การสนับสนุนชุมชน ดำเนินงานอย่างมีจริยธรรม
ผลการประเมินการดำเนินงาน 46
ตัวชี้วัดที่ 11. ระดับ ความสำเร็ จของการ พัฒนา คุณภาพ การบริหาร จัดการ ภาครัฐ (PMQA) หมวด 7 RM 6 ตัวชี้วัดที่ 11. ระดับ ความสำเร็ จของการ พัฒนา คุณภาพ.
ตัวชี้วัดที่ 11. ระดับความสำเร็จของ การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐ (PMQA) หมวด 7 RM 6.
มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร
CS 6: การวัดความพึงพอใจและไม่พึงพอใจ
การจัดทำแผนที่กลยุทธ์/ยุทธศาสตร์
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
ผลการดำเนินงานองค์กร (Performance Measurement)
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
เกณฑ์ PMQA.
เกณฑ์ PMQA.
1 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ กลุ่มที่ 5. 2 สมาชิกกลุ่ม 18.
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
การตรวจรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) 1.
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด4 10คำถาม.
PMQA Organization คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด6 12คำถาม.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด2 9คำถาม.
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนรายงานหมวดที่ 7 : ผลลัพธ์การดำเนินการ.
การพัฒนาคุณภาพตามเกณฑ์ PCA หน่วยบริการปฐมภูมิ
ประโยชน์ต่อส่วนราชการ
คำรับรองการปฏิบัติ ราชการ กรมอนามัย ปี 2549 จำนวน 20 ตัวชี้วัด.
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
Strategy Map สำนักส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 4 จังหวัดขอนแก่น ปีงบประมาณ พ.ศ ร้อยละหรือระดับความสำเร็จของการดำเนินงานโครงการ/กิจกรรมตามแผนงานโครงการปี
Evaluation as a Strategy ; สำนักประเมินผล สำนักงบประมาณ
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
ยุทธศาสตร์ที่ 6 การพัฒนาคุณภาพระบบบริหารจัดการองค์กรและบุคลากร ให้มีขีดสมรรถนะสูงได้มาตรฐานสากล การดำเนินการพัฒนาคุณภาพระบบบริหารจัดการองค์กร เป็นการนำเกณฑ์
มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ สำนักนโยบายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
มีอำนาจหน้าที่ตามกฎกระทรวง
รอบที่ 2 ปีงบประมาณ สรุปตามมิติทาง ยุทธศาสตร์ การพัฒนาองค์กร ร้อยละ 22 ประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ ร้อยละ 15 คุณภาพการบริการ ร้อยละ 22 ประสิทธิผลตาม.
การพัฒนา องค์การ ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ เพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน ตามคำรับรอง การปฏิบัติ ราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.
การพัฒนา องค์กร ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ คุณภาพ การให้บริการ ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ เพิ่มประสิทธิภาพในการ ประหยัดพลังงาน ส่วนราชการมีกระบวนงานการบริหารจัดการทรัพยากร.
กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย
แนวทางการดำเนินการ พัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ประจำปี 2553.
สำนักนโยบายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย มิติการพัฒนา องค์กร มิติประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ มิติประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ 1. จัดทำนโยบาย.
มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ
มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ สำนักมาตรการป้องกันสาธารณภัย
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
สำนักช่วยเหลือผู้ประสบภัย มิติประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ มิติประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ 1. ช่วยเหลือและบรรเทาเหตุเบื้องต้นแก่
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หมวด7 15 คำถาม

หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ 7.1 มิติ ด้านประสิทธิผล 7.2 มิติ ด้านคุณภาพ การให้บริการ 7.3 มิติ ด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ 7.4 มิติ ด้านการพัฒนา องค์กร ผลการบรรลุความสำเร็จตามยุทธศาสตร์ของส่วนราชการ ผลของวัดความพึงพอใจและไม่พึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ผลของตัวชี้วัดด้านคุณค่าจากมุมมองของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย รวมถึงการกล่าวถึงองค์กรในทางที่ดี และ การสร้างความสัมพันธ์ ผลการดำเนินการด้านขอบเขต ขนาด และประเภทการให้บริการที่เพิ่มขึ้น (*) ผลการดำเนินการที่สำคัญอื่นที่เกี่ยวข้องกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ผลการปฏิบัติงานของกระบวนการที่สร้างคุณค่า ผลการปฏิบัติงานของกระบวนการสนับสนุน ผลการดำเนินงานด้านงบประมาณและการเงิน ผด้านความรับผิดชอบด้านการเงินทั้งภายในและภายนอก ผลด้านการปฏิบัติตามกฏ ระเบียบ ข้อบังคับ กฏหมาย ผลด้านการเป็นองค์กรที่ดีในการสนับสนุนชุมชนที่สำคัญ ผลด้านระบบบริหารงานบุคคล ผลด้านการเรียนรู้และพัฒนาของบุคลากร ผลด้านความผาสุก ความพึงพอใจและไม่พึงพอใจของบุคลากร ผลด้าน พฤติกรรมที่มีจริยธรรม ความไว้วางใจที่มีต่อผู้นำ การกำกับดูแลตัวเองที่ดี พฤติกรรมที่ฝ่าฝืนจริยธรรม

หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ 7.1 มิติ ด้านประสิทธิผล 7.2 มิติ ด้านคุณภาพ การให้บริการ 7.3 มิติ ด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ 7.4 มิติ ด้านการพัฒนา องค์กร (76)1 ผลการบรรลุความสำเร็จตามยุทธศาสตร์ของส่วนราชการ (77)2 ผลของวัดความพึงพอใจและไม่พึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (78)3 ผลของตัวชี้วัดด้านคุณค่าจากมุมมองของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย รวมถึงการกล่าวถึงองค์กรในทางที่ดี และ การสร้างความสัมพันธ์ (79)4 ผลการดำเนินการด้านขอบเขต ขนาด และประเภทการให้บริการที่เพิ่มขึ้น (*) (80)5 ผลการดำเนินการที่สำคัญอื่นที่เกี่ยวข้องกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (81)6 ผลการปฏิบัติงานของกระบวนการที่สร้างคุณค่า (82)7 ผลการปฏิบัติงานของกระบวนการสนับสนุน (83)8 ผลการดำเนินงานด้านงบประมาณและการเงิน (84)9 ผลด้านความรับผิดชอบด้านการเงินทั้งภายในและภายนอก (85)10 ผลด้านการปฏิบัติตามกฏ ระเบียบ ข้อบังคับ กฏหมาย (86)11 ผลด้านการเป็นองค์กรที่ดีในการสนับสนุนชุมชนที่สำคัญ (87)12 ผลด้านระบบบริหารงานบุคคล (88)13 ผลด้านการเรียนรู้และพัฒนาของบุคลากร (89)14 ผลด้านความผาสุก ความพึงพอใจและไม่พึงพอใจของบุคลากร (90)15 ผลด้าน พฤติกรรมที่มีจริยธรรม ความไว้วางใจที่มีต่อผู้นำ การกำกับดูแลตัวเองที่ดีพฤติกรรมที่ฝ่าฝืนจริยธรรม

ข้อแนะนำในการประเมินตนเองใน หมวด 7 ก่อนการประเมินตนเองส่วนราชการต้องกรอกข้อมูลตามตัวชี้วัด ในแต่ละข้อลงในแบบปอร์มข้างล่างนี้ แล้วจึงประเมิน ระดับคะแนน LeTCLi ในแต่ละข้อ ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลลัพธ์เทียบกับเป้าหมาย (+/-) ผลลัพธ์ในช่วง 3 ปี ลักษณะแนวโน้ม องค์กร/กระบวนการที่เทียบเคียง ผลการเปรียบเทียบ(+/-) ความครอบคลุมเชื่อมโยงของตัวชี้วัด 2549 2550 2551 1….. 2…. 3…. …….

การประเมินตามคำถามหมวด 7 ข้อ 7.1 (1) ตัวชี้วัดที่สำคัญของการบรรลุความสำเร็จตามยุทธศาสตร์ของส่วนราชการ หมวด 2.1ข(3) RESULT 1. ตัวชี้วัดที่สำคัญของการบรรลุความสำเร็จตามยุทธศาสตร์ของส่วนราชการ

การประเมินตามคำถามหมวด 7 ข้อ 7.2 (2) ตัวชี้วัดที่สำคัญด้านความพึงพอใจและไม่พึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ลักษณะสำคัญ 1 ข(3) หมวด 3.1 และ 3.2 RESULT 2. ตัวชี้วัดที่สำคัญด้านความพึงพอใจและไม่พึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

การประเมินตามคำถามหมวด 7 ข้อ 7.2 (3) ตัวชี้วัดที่สำคัญในด้านคุณค่าจากมุมมองของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย รวมถึงการที่ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกล่าวถึงองค์กรในทางที่ดี และแง่มุมอื่นของการสร้างความสัมพันธ์กับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย หมวด 3 RESULT 3. ตัวชี้วัดที่สำคัญด้านคุณค่าจากมุมมองของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย รวมถึง การกล่าวถึงองค์กรในทางที่ดี การสร้างความสัมพันธ์

การประเมินตามคำถามหมวด 7 ข้อ 7.2 (4) ตัวชี้วัดที่สำคัญของผลการดำเนินการด้านขอบเขต ขนาด และประเภทการให้บริการที่เพิ่มขึ้น หมวด 3 RESULT 4. ตัวชี้วัดที่สำคัญของผลการดำเนินการด้านขอบเขต ขนาด และประเภทการให้บริการที่เพิ่มขึ้น

การประเมินตามคำถามหมวด 7 ข้อ 7.2 (5) ตัวชี้วัดที่สำคัญของการดำเนินการที่สำคัญอื่น ๆ ที่เกี่ยวกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ลักษณะสำคัญ 1 ข(3) หมวด 3.1 และ 3.2 RESULT 5. ตัวชี้วัดที่สำคัญของการดำเนินการที่สำคัญอื่น ๆ ที่เกี่ยวกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

การประเมินตามคำถามหมวด 7 ข้อ 7.3 (6) ตัวชี้วัดที่สำคัญของผลการดำเนินการปฏิบัติการของกระบวนการที่สร้างคุณค่ารวมทั้งผลิตภาพ รอบเวลา ผลการดำเนินการขององค์กรหรือส่วนราชการที่ทำงานเกี่ยวข้องกัน รวมถึงตัวชี้วัดประสิทธิผลอื่น ๆ ที่เหมาะสม หมวด 6.1(4) RESULT 6. ตัวชี้วัดที่สำคัญของผลการดำเนินการด้านดำเนินการปฏิบัติการของกระบวนการที่สร้างคุณค่า

การประเมินตามคำถามหมวด 7 ข้อ 7.3 (7) ตัวชี้วัดที่สำคัญของผลการดำเนินการปฏิบัติการของกระบวนการสนับสนุน รวมทั้งผลิตภาพ รอบเวลา ผลการดำเนินการขององค์กรหรือส่วนราชการที่ทำงานเกี่ยวข้องกัน รวมถึงตัวชี้วัดประสิทธิผลอื่น ๆ ที่เหมาะสม หมวด 6.2(10) RESULT 7. ตัวชี้วัดที่สำคัญของผลการดำเนินการด้านดำเนินการปฏิบัติการของกระบวนการสนับสนุน

การประเมินตามคำถามหมวด 7 ข้อ 7.3 (8) ตัวชี้วัดที่สำคัญของผลการดำเนินการด้านงบประมาณ และการเงิน รวมถึงการควบคุมและการลดค่าใช้จ่าย หมวด 6(5) RESULT 8. ตัวชี้วัดที่สำคัญของผลการดำเนินการด้านงบประมาณ และการเงิน

การประเมินตามคำถามหมวด 7 ข้อ 7.3 (9) ตัวชี้วัดที่สำคัญด้านความรับผิดชอบด้านการเงินทั้งภายในและภายนอก หมวด 1 (เช่น จากตรวจสอบภายในภายนอก) RESULT 9. ตัวชี้วัดที่สำคัญด้านความรับผิดชอบด้านการเงินทั้งภายในและภายนอก

การประเมินตามคำถามหมวด 7 ข้อ 7.3 (10) ตัวชี้วัดที่สำคัญด้านการปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และกฎหมาย หมวด 1(11) RESULT 10. ตัวชี้วัดที่สำคัญด้านการปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และกฎหมาย

การประเมินตามคำถามหมวด 7 ข้อ 7.3 (11) ตัวชี้วัดที่สำคัญด้านการเป็นองค์กรที่ดีในการสนับสนุนชุมชนที่สำคัญ หมวด 1(12) RESULT 11. ตัวชี้วัดที่สำคัญด้านการเป็นองค์กรที่ดีในการสนับสนุนชุมชนที่สำคัญ

การประเมินตามคำถามหมวด 7 ข้อ 7.4 (12) ตัวชี้วัดที่สำคัญของผลการดำเนินการและประสิทธิผลด้านระบบงาน หมวด 5.1 RESULT 12. ตัวชี้วัดที่สำคัญของผลการดำเนินการและประสิทธิผลด้านระบบงาน

การประเมินตามคำถามหมวด 7 ข้อ 7.4 (13) ตัวชี้วัดที่สำคัญของผลการดำเนินการด้านการเรียนรู้และพัฒนาบุคลากร หมวด 5.2 RESULT 13. ตัวชี้วัดที่สำคัญของผลการดำเนินการด้านการเรียนรู้และพัฒนาบุคลากร

การประเมินตามคำถามหมวด 7 ข้อ 7.4 (14) ตัวชี้วัดที่สำคัญของผลการดำเนินการด้านความผาสุก ความพึงพอใจและไม่พึงพอใจของบุคลากร หมวด 5.3 RESULT 14. ตัวชี้วัดที่สำคัญของผลการดำเนินการด้านความผาสุก ความพึงพอใจและไม่พึงพอใจของบุคลากร

การประเมินตามคำถามหมวด 7 ข้อ 7.4 (15) ตัวชี้วัดที่สำคัญของพฤติกรรมที่มีจริยธรรม ตัวชี้วัดที่สำคัญของความไว้วางใจของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มีต่อผู้นำระดับสูงและการกำกับดูแลตนเองที่ดีของส่วนราชการ และตัวชี้วัดที่สำคัญของพฤติกรรมที่ฝ่าฝืนจริยธรรม หมวด 1(3) (11) RESULT 15. ตัวชี้วัดที่สำคัญของพฤติกรรมที่มีจริยธรรม ความไว้วางใจ การกำกับดูแลตนเองที่ดี