แผนการขับเคลื่อน กรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ โดย สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
โครงการกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา
วัตถุประสงค์ เพื่อเป็นกรอบมาตรฐานให้สถาบันอุดมศึกษาใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาหรือปรับปรุงหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน และพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา ให้สามารถผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพและเพื่อประโยชน์ต่อการรับรองมาตรฐานคุณวุฒิในระดับอุดมศึกษา
TQF Road Map 2545 - 2546 2547 – 2548 2549 - 2550 2551 – 2552 2553 - 2555 2556 ตัวบ่งชี้ ผลงานวิจัยเกี่ยวกับคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ของสังคมไทย (ศ.ไพฑูรย์ สินลารัตน์) ผลงานวิจัย กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (TQF:HED) ที่เทียบเคียงกับสากล ข้อคิดเห็นที่ได้จากการสัมมนาทางวิชาการ เรื่อง TQF ซึ่งเชิญ ม/ส ทุกแห่ง ผู้ใช้บัณฑิต องค์กรวิชาชีพเข้าร่วมประชุม คู่มือแนวปฏิบัติการพัฒนาหลักสูตรตามกรอบ TQF มีกลุ่มคณาจารย์นำร่องเป็น TQF Trainers ข้อคิดเห็นที่ได้จากการสัมมนาทางวิชาการ เรื่อง TQF เกี่ยวกับแนวปฏิบัติ ประกาศ ศธ. เรื่อง กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ประกาศ กกอ. เรื่อง แนวปฏิบัติตาม TQF มาตรฐานคุณวุฒิสาขาระดับ ป.ตรี สาขาคอมพิวเตอร์ สาขาพยาบาลศาสตร์ สาขาโลจิสติกส์ สาขาการท่องเที่ยวและการโรงแรม ขยายผลมาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชาต่าง ๆ บุคลากรใน ม/ส มีความรู้ความเข้าใจและพัฒนากลไกภายในเพื่อให้เกิดระบบวัฒนธรรมคุณภาพโดยใช้ TQF เป็นเครื่องมือ ปรับปรุงเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรและแนวปฏิบัติ การเสนอหลักสูตรต่อ สกอ.ให้สอดคล้องกับ TQF KPI ของ TQF เป็นส่วนหนึ่งของ IQA หลักสูตรทั้งหมดพัฒนาตาม TQF ค้นหา Best Practice ม/ส เกิดวัฒนธรรมคุณภาพในการจัดการเรียนการสอน ส่งเสริมมาตรฐานคุณภาพ อย่างต่อเนื่อง ส่งเสริม/ติดตามให้เกิดการพัฒนา Los เทียบเคียง TQF กับสากล ลด กฎระเบียบให้ ม/ส ที่มีศักยภาพความพร้อมในการดูแลคุณภาพและมาตรฐานตนเอง??? เกิดเครือข่าย TQF ที่สมบูรณ์ทำงานเชิงรุก ขั้นตรียมการ ระยะที่ 1 : จัดทำกรอบมาตรฐานฯ ระยะที่ 2 : เตรียมนำสู่การปฏิบัติ ระยะที่ 3 : นำTQF ไปสู่การปฏิบัติในสถาบันอุดมศึกษา ระยะที่ 4: ส่งเสริม สนับสนุนการดำเนินการตาม TQF ระยะที่ 5 : ติดตามและประเมินผลการดำเนินการตาม TQF 4
มาตรฐานผลการเรียนรู้ (Domains of Learning) 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรม (Ethics and Morals) 2. ด้านความรู้ (Knowledge) 3. ด้านทักษะทางปัญญา (Cognitive Skills) 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ (Interpersonal Skills and Responsibility) 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (Numerical Analysis, Communication and Information Technology Skills) บางสาขาวิชาอาจเพิ่มมาตรฐานผลการเรียนรู้ทางด้านทักษะพิสัย (Domain of Psychomotor Skills) หรือบางสาขาวิชาต้องการให้บัณฑิตของสาขาวิชามีมาตรฐานผลการเรียนรู้มากกว่าหรือพิเศษกว่าบัณฑิตในสาขาวิชาอื่นก็สามารถกำหนดเพิ่มเติมได้ 5
โครงสร้างของระดับคุณวุฒิอุดมศึกษา
การขับเคลื่อน TQF สู่การปฏิบัติ
ความสำคัญของผลการเรียนรู้ (Learning Outcomes) กรอบมาตรฐาน คุณวุฒิ ตลอดชีวิต การเรียนรู้ ระบบหน่วยกิต และบุคลากร) (นักศึกษา อาจารย์ การเคลื่อนย้าย การรับรอง (เน้นผู้เรียน เป็นสำคัญ) หลักสูตร การพัฒนา การประกัน คุณภาพ ทักษะในการ ทำงาน
21st century skills: Rethinking How Students Learn ที่มา: James Bellanca, Ron Brandt. 21st Century Skills: Rethinking How Students Learn. United States of America: Solution Tree Press, 2010. pp. xv
Tuning Education Structures for Internationalization การนำกรอบมาตรฐานคุณวุฒิสู่สากล การร่วมมือทางวิชาการกับสหภาพยุโรป(European Union : EU) (กรกฎาคม 2555) คอมพิวเตอร์ Tuning Education Structures for Internationalization การท่องเที่ยวและการโรงแรม วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์
Tuning Educational structures for the Internalization (Sciences): SWU
การจัดทำมาตรฐานสาขา/สาขาวิชา (มคอ.1) ดำเนินการเรียบร้อยแล้ว ระหว่างดำเนินการ อยู่ระหว่างการพิจารณา จำนวน 11 สาขา ได้แก่ คอมพิวเตอร์ พยาบาลศาสตร์ (ตรีและบัณฑิตศึกษา) โลจิสติกส์ การท่องเที่ยวและการโรงแรม วิศวกรรมศาสตร์ บัญชี ครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์ ภาษาไทยวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ และแพทย์แผนไทยประยุกต์ (ตรีและบัณฑิตศึกษา) กายภาพบำบัด(ตรีและบัณฑิตศึกษา) จำนวน 16 สาขา ได้แก่อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทยศาสตร์ การบริหารการศึกษา(บัณฑิตศึกษา) รัฐประศาสนศาสตร์ (ตรี-โท-เอก) บริหารธุรกิจ ศิลปกรรมศาสตร์ สิ่งแวดล้อม ทันตแพทยศาสตร์ สถาปัตยกรรมศาสตร์ เภสัชศาสตร์ เทคโนโลยีชีวภาพ สังคมสงเคราะห์ศาสตร์และสวัสดิการสังคม นิเทศศาสตร์ เทคโนโลยีอุตสาหกรรม คหกรรมศาสตร์ สาธารณสุขศาสตร์ (ตรีและบัณฑิตศึกษา) จำนวน 4 สาขา ได้แก่ ภาษาอังกฤษ การเกษตร ป่าไม้และประมง ประวัติศาสตร์ การแพทย์แผนไทย
ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. นักศึกษา :- มี Learning Outcomes ตามกำหนด ได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพ มั่นใจในความรู้ ความสามารถและทักษะในการทำงาน สามารถเคลื่อนย้าย (Mobility) ระหว่างสถาบันในประเทศ/ ต่างประเทศได้ 2. คณาจารย์ : ได้รับการส่งเสริมให้มีการพัฒนาทั้งทางวิชาการ วิชาชีพ 3. ผู้ใช้บัณฑิต : มีความร่วมมือกับสถาบันอุดมศึกษาอย่างใกล้ชิด 4. สถาบันอุดมศึกษา : มีมาตรฐานการจัดการศึกษาที่มีคุณภาพ 5. ประเทศชาติ : - มีระบบการศึกษาที่เชื่อมโยงกันทุกระบบ - มีระบบการศึกษาที่เชื่อมโยงกับสถานประกอบการ - มีขีดความสามารถในการพัฒนาประเทศ แข่งขัน กับนานาชาติได้
ผู้รับผิดชอบโครงการ กลุ่มพัฒนามาตรฐานอุดมศึกษา สำนักมาตรฐานและประเมินผลอุดมศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) กระทรวงศึกษาธิการ www.mua.go.th โทรศัพท์: 02-610-5378-9 โทรสาร: 02-354-5530
Thank you for your Attention ขอบคุณครับ Thank you for your Attention