สังคหวัตถุ 4 บรรยายโดย อ.พงศ์สฎา เฉลิมกลิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย อาจารย์วารุณี ถีระแก้ว โรงเรียนวัดไร่ขิง จังหวัดนครปฐม
Advertisements

และจรรยาบรรณของวิชาชีพครู
พุทธธรรม นำบุคลิกภาพ อ.วิยะดา วรธนานันท์ สำนักการศึกษาต่อเนื่อง
มนุษยสัมพันธ์สร้างสรรค์งาน
การประยุกต์ใช้แนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
บทเรียนโปรแกรม Power Point
การดำเนินชีวิตอย่างมีอุดมคติ
โดย นางสาวตรึงตา แหลมสมุทร
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
2 ข้อนี้จัดเข้าในปัญญา
สื่อช่วยสอน สาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เรื่อง เบญจศีล – เบญจธรรม
บุญ ๑๐ วิธี ๑ . ให้ทาน แบ่งปันผู้อื่นด้วยสิ่งของไม่ว่าจะให้ใครก็เป็นบุญสิ่งของที่เราแบ่งปันจะเป็นประโยชน์กับบุคคลหรือชุมชนโดยส่วนรวม.
ชีวิตครอบครัว นายธวัชชัย สาบัว ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย
สังคหวัตถุ 4 สังคหวัตถุ หมายถึง ข้อปฏิบัติที่เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจของบุคคลหรือหลักธรรมที่เป็นเครื่องประสานสร้างสรรค์สามัคคีให้เกิดในหมู่สมาชิกชาวพุทธ.
จริยศาสตร์ในพุทธปรัชญา
บทที่ 6 ค่านิยมในสังคมไทย
วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา ป.1 เรื่อง การเจริญเติบโตและพัฒนาการของร่างกาย
กรมส่งกำลังบำรุงทหาร
การสื่อสารเพื่อการบริการ
คุณธรรมสำหรับผู้ปกครอง 10 ประการ ดังนี้
นางสาวรัชดา สุทธิวรวุฒิกุล
8 คุณธรรมพื้นฐาน.
6. การควบคุมให้ปฎิบัติตามกฎ ระเบียบ และ. มาตรฐานความ ประพฤติ การควบคุมให้ปฎิบัติตามกฎ ระเบียบ และ มาตรฐานความ ประพฤติ 7. การทำความเข้าใจซึ่งกันและกัน.
พระพุทธศาสนา ฝึกคนไม่ให้ประมาท.
แนวคิดและทฤษฎีทางจริยธรรม
จรรยาบรรณวิชาชีพ.
ธรรมนูญชีวิตที่ดีงาม
บทที่ 3 แรงจูงใจในการทำงาน.
สัปปุริสธรรม 7 บรรยายโดย อ.พงศ์สฎา เฉลิมกลิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม.
อิทธิบาท ๔ บรรยายโดย อ.พงศ์สฎา เฉลิมกลิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม.
Chapter 10 จรรยาบรรณของนักธุรกิจ
วัฒนธรรมองค์กร & การอยู่ร่วมกัน
มนุษยสัมพันธ์ กับการทำงานเป็นทีม.
บทนำ บทที่ 1.
พระราชดำริ 14 ข้อ เพื่อนักบริหาร
ผู้บริหารพบนักเรียน.
K M กจ. ประจำเดือนมีนาคม 2551
Ombudsman Talk.
จรรยาบรรณและการเสริมสร้างมาตรฐาน ทางคุณธรรม จริยธรรมและการเป็น
ดร.สมโภชน์ นพคุณ รองเลขาธิการ ก.พ. สำนักงาน ก.พ.
กรรมคืออะไร ?, มีจริงหรือไม่ ?
จรรยาบรรณครู จรรยาบรรณข้อที่ 1 ครูต้องรักและเมตตาศิษย์ โดยให้ความเอาใจใส่ช่วยเหลือส่งเสริมให้ กำลังใจใน การศึกษาเล่าเรียนแก่ศิษย์โดยเสมอหน้า จรรยาบรรณข้อที่
เกร็ดความรู้ที่เยาวชนไทยควรทราบ
เกร็ดความรู้ที่เยาวชนไทยควรทราบ
เกร็ดความรู้ที่เยาวชนไทยควรทราบ
บุคลิกภาพกับการเป็นผู้นำที่มีจิตสำนึก
จรรยาบรรณ เรื่องส่งเสริมเสรีภาพในวิชาชีพ
การส่งเสริมพัฒนาการทางสังคมสำหรับเด็กปฐมวัย
( Human Relationships )
วิชา หลักการตลาด บทที่ 12 จริยธรรมทางการตลาด และความรับผิดชอบต่อสังคม
สถาบันศาสนา หมายถึง แบบแผนของความคิดการกระทำในเรื่องเกี่ยวกับ จิตใจ ความเชื่อทางสังคม ทางศาสนา และเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรม ประกอบด้วย 3 ประการ คือ.
เนื้อหาพิเศษ : การตั้งเป้าหมาย
อ่านอะไรและอ่านอย่างไรเพื่อพัฒนาตนในด้านความรู้
บทอ่านจากจดหมายนักบุญเปาโลถึงชาวโครินทร์ฉบับที่ 1
ศาสนาพุทธ เรื่อง ฆราวาสธรรม ๔ จัดทำโดย
งาน กำหนดกรอบ บรรยาย เคลื่อนไ หว อาชี พ ชีวิต เป็ น อยู่ ปรากฏความ เปลี่ยนแปลง เป็น ครู ข้าราชการครู พนักงา นรัฐ สอ น แนะ นำ เสนอ แนวคิด กำกับงานของ Stu-
ความสำคัญของบุคลิกภาพ บรรยาย โดย อาจารย์วทัญญู มุ่งหมาย
บทที่ 2 พุทธธรรมกับสังคม.
คุณธรรมนักปกครอง กับค่านิยมหลักของคนไทย นายประดิษฐ์ ยมานันท์
บุคลิกภาพ และ มนุษยสัมพันธ์ โดย รองศาสตราจารย์ดรุณ หาญตระกูล
บทที่ 2 ทฤษฏีจริยธรรม.
อริยสัจ 4.
แนวคิดเกี่ยวกับวินัยและการลงโทษ
เทคนิคการให้คำปรึกษา
ปัญหาจริยธรรมในทางธุรกิจ
วัฒนธรรมและค่านิยม ขององค์การอุตสาหกรรมป่าไม้
มนุษยสัมพันธ์ในการบริหารการศึกษา
พระครูพิศิษฏ์คณาทร วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร
“ชีวิตมีคุณค่า พึ่งพาเศรษฐกิจพอเพียง”
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สังคหวัตถุ 4 บรรยายโดย อ.พงศ์สฎา เฉลิมกลิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม

หมายถึง หลักธรรมที่เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวน้ำใจของผู้อื่น ผูก สังคหวัตถุ 4 หมายถึง หลักธรรมที่เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวน้ำใจของผู้อื่น ผูก ไมตรี เอื้อเฟื้อ เกื้อกูล หรือเป็นหลักการสงเคราะห์ ซึ่งกันและกัน มีอยู่ 4 ประการ ได้แก่ จูงคนแก่ข้ามถนน

1. ทาน เราควรคำนึงอยู่เสมอว่า ทรัพย์สิ่งของ ทาน คือ การให้ การเสียสละ หรือการเอื้อเฟื้อแบ่งปันของๆตนเพื่อประ โยชน์แก่บุคคลอื่น ไม่ตระหนี่ถี่เหนียว ไม่เป็นคนเห็นแก่ได้ฝ่าย เดียว คุณธรรมข้อนี้จะช่วยให้ไม่เป็นคนละโมบ ไม่เห็นแก่ตัว เราควรคำนึงอยู่เสมอว่า ทรัพย์สิ่งของ ที่เราหามาได้ มิใช่สิ่งจีรังยั่งยืนเมื่อเราสิ้นชีวิตไปแล้วก็ไม่สามารถจะนำติดตัวเอาไปได้

2. ปิยวาจา คือ การพูดจาด้วยถ้อยคำที่ไพเราะอ่อนหวาน พูดด้วยความจริงใจ ไม่พูดหยาบคายก้าวร้าว พูดในสิ่งที่เป็นประโยชน์เหมาะสำหรับ กาลเทศะ พระพุทธเจ้าทรงให้ความสำคัญกับการพูดเป็นอย่างยิ่ง การพูดเป็นบันไดขั้นแรกที่จะสร้างมนุษย์สัมพันธ์ อันดีให้เกิดขึ้น วิธีการที่จะพูดให้เป็นปิยวาจานั้น จะต้องพูดโดยยึดถือหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้

ปิยวาจา วิธีการที่จะพูดให้เป็นปิยวาจานั้นจะต้องพูดโดยยึดถือหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ เว้นจากการพูดเท็จ เว้นจากการพูดส่อเสียด เว้นจากการพูดคำหยาบ เว้นจากการพูดเพ้อเจ้อ

3. อัตถจริยา คือ การสงเคราะห์ทุกชนิดหรือการประ พฤติในสิ่งที่เป็นประโยชน์แก่ผู้อื่น การสงเคราะห์คนชรา เด็กกำพร้า

4. สมานัตตา คือ การเป็นผู้มีความสม่ำเสมอ หรือมีความประพฤติเสมอต้นเสมอปลาย คุณธรรมข้อนี้จะช่วยให้เราเป็นคนมีจิตใจหนักแน่นไม่โลเล รวมทั้งยังเป็นการสร้างความนิยม และไว้วางใจให้แก่ผู้อื่นอีกด้วย การออกกำลังกายสม่ำเสมอ การทำงานอย่างสม่ำเสมอ