มนุษยสัมพันธ์ในการทำงาน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การประสานงาน.
Advertisements

เคล็ดลับแห่งความสำเร็จ
การมอบหมายงาน 1. งานเร่งด่วน/สำคัญมาก หัวหน้าต้องทำเอง
อาจารย์อนุวัตร ธรรมปริพัตรา
บริหารคนอย่างไรให้มีประสิทธิภาพ
รหัสวิชา กระบวนทัศน์ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และชุมชนในองค์กร
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
กลุ่มงานบริการ “เปิดกะลา”
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
จริยธรรม จริยธรรม หมายถึง กิริยาหรือความประพฤติที่ดี ที่เป็นธรรม ที่ถูกต้อง เป็นการกระทำความดี เป็นการกระทำที่ทำให้ผู้กระทำและผู้อื่นได้ประโยชน์โดยเสมอภาคซึ่งกันและกัน.
การพัฒนาอาชีพช่างของผู้นำยุคใหม่ เพื่อตอบสนองกองทัพเรือ
นักวิจัยพี่เลี้ยงที่ดีและหน้าที่ของนักวิจัยพี่เลี้ยง
บริการ คือ งานของเรา......
10 ข้อแตกต่างระหว่าง ผู้ชนะ กับ ผู้แพ้
ปัจจัยแห่งความสำเร็จในการก้าวสู่ การเป็นหน่วยงานจัดการความรู้ดีเด่น
ความหมาย ประโยชน์ ลักษณะของทีม
การสื่อสารเพื่อการบริการ
การติดตามประเมินผล ความหมาย การวัดผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ของพนักงานช่วงเวลาใดเวลาหนึ่งโดยเปรียบเทียบผลการปฏิบัติงานกับมาตรฐานที่กำหนดไว้ วัตถุประสงค์
6. การควบคุมให้ปฎิบัติตามกฎ ระเบียบ และ. มาตรฐานความ ประพฤติ การควบคุมให้ปฎิบัติตามกฎ ระเบียบ และ มาตรฐานความ ประพฤติ 7. การทำความเข้าใจซึ่งกันและกัน.
การทำงานเชิงรุก การทำงานเชิงรุก
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
แนวทางการพัฒนาศักยภาพสหกรณ์นิคมและสมาชิกสหกรณ์
การพัฒนานักเรียนโดยครูและโรงเรียน
วัตถุประสงค์ของการศึกษาด้วยกรณีศึกษา
การวิเคราะห์ปัญหาวัยรุ่นและการช่วยเหลือ
มนุษย์สัมพันธ์ ในการทำงานเป็นทีม
จิตวิทยากับองค์กรธุรกิจอุตสาหกรรม
บทที่ 3 แรงจูงใจในการทำงาน.
การติดต่อสื่อสารในการทำงาน
ขวัญในงานธุรกิจอุตสาหกรรม
Chapter 10 จรรยาบรรณของนักธุรกิจ
วัฒนธรรมองค์กร & การอยู่ร่วมกัน
มนุษยสัมพันธ์ กับการทำงานเป็นทีม.
1. สรร หา 2. พัฒนา 3. รักษา 4. ใช้ให้ตรง ความถนัด.
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง (Conflict and Negotiation)
ลูกใครวะ.
เพ็ญศรี คำเหล็ก พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ ทีมบริหารลูกค้าสัมพันธ์(CRM)
ความคาดหวังต่อผู้บังคับบัญชา
การแก้ไขปัญหาและการจัดการความขัดแย้ง
Participation : Road to Success
มาตรฐานการควบคุมภายใน
การบริหารและกระบวนการวางแผน
วิชาวิศวกรรมความรู้ - การจัดการความรู้เพื่อพัฒนาองค์กร
( Human Relationships )
YOUR LOGO Page  2 เป้าหมาย 1. เข้าใจถึงอิทธิพลของการแข่งขัน ในยุคทุนนิยมเสรี และผลกระทบต่อภาพรวมของ ประเทศและต่อองค์กร 2. รู้แนวคิด สูตร แนวทางปฎิบัติที่
การสั่งการและ การมอบหมายงาน
ครูพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี การบริหารจัดการ ทรัพยากรการบริการ การบริหารจัดการ ทรัพยากรการบริการ ผู้สอน นางพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี โรงเรียนวังไกลกังวล ผู้สอน นางพัทธนันท์
สัมมนาการพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอนสำหรับท้องถิ่น
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบ Introduction to the System
ประมวลผลการเรียนรู้ การพัฒนาหลักสูตร E Learning "นพลักษณ์ฯ ขั้นต้น” 5 มิถุนายน -18 กันยายน 2551 สวทช. นำประสบการณ์จากกิจกรรมเชื่อโยงกับ Core Competency.
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
บุคลิกภาพ และ มนุษยสัมพันธ์ โดย รองศาสตราจารย์ดรุณ หาญตระกูล
การศึกษาบัณฑิต (กศบ.) เทคโนโลยีทางการศึกษา มศว. ประสานมิตร
การวิเคราะห์และออกแบบระบบ System Analysis and Design
..
บทที่ 2 การจัดองค์กรขาย
เทคนิคการให้คำปรึกษา
จัดทำโดย ชื่อนายฤทธิ์รงค์ ลิ้มม่วงนิล ช่างยนต์ ปวช.1 เลขที่19
วัฒนธรรมและค่านิยม ขององค์การอุตสาหกรรมป่าไม้
มนุษยสัมพันธ์ในการบริหารการศึกษา
อุดมการณ์ และจิตวิญญาณ ของความเป็นครู.
สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
มนุษยสัมพันธ์ ( Human Relations )
การบริหารคุณภาพทั่วทั้งองค์กร Total Quality control : QCC
แนวทางการพัฒนาทรัพยากรบุคคล
จิตวิทยาการปรึกษาเบื้องต้น
ปฏิญญาสากลว่าด้วยเรื่อง สิทธิมนุษยชน
วิธีการสอนโดยใช้เกม (Game)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

มนุษยสัมพันธ์ในการทำงาน บทที่ 5 มนุษยสัมพันธ์ในการทำงาน

มนุษยสัมพันธ์ในการทำงาน - ความหมายของมนุษยสัมพันธ์ในการทำงาน - วัตถุประสงค์ของการสร้างมนุษยสัมพันธ์ในการทำงาน - องค์ประกอบในการสร้างมนุษยสัมพันธ์ในการทำงาน - เทคนิคการสร้างมนุษยสัมพันธ์ในการทำงาน - การประยุกต์จิตวิทยามนุษยสัมพันธ์ในงานธุรกิจ อุตสาหกรรม

ความหมายของมนุษยสัมพันธ์ในการทำงาน มนุษยสัมพันธ์ : ศิลปศาสตร์ในการเสริมสร้างความสัมพันธ์อันดีกับบุคคล เพื่อให้ได้มาซึ่ง ความรักใคร่ นับถือ การยอมรับ ฯ มนุษยสัมพันธ์ในการทำงาน : ศิลปศาสตร์ ในการเสริมสร้างความสัมพันธ์อันดีกับบุคคลต่างๆ เพื่อมุ่งให้เกิดความร่วมมือร่วมใจ ทำให้งานนั้น สำเร็จตามความมุ่งหมาย

วัตถุประสงค์ ของการสร้างมนุษยสัมพันธ์ในการทำงาน 1. ทำให้เกิดความร่วมมือในการทำงาน 2. ทำให้เพิ่มผลผลิตขององค์กรได้มากขึ้น 3. ทำให้คนงานเกิดความพึงพอใจจากการทำงาน

องค์ประกอบในการสร้างมนุษยสัมพันธ์ในการทำงาน 1. การเข้าใจธรรมชาติของมนุษย์ กายภาพ จิตใจ 2. การรู้จักตัวเอง วิเคราะห์ตัวเองได้อย่างตรงไป ตรงมา 3. การรู้จักและเข้าใจผู้อื่น ประเภทของคน 4. การรู้และเข้าใจสภาพแวดล้อมในการสร้าง มนุษยสัมพันธ์

การเข้าใจตนเอง (Self - Perception) 1. พฤติกรรมเปิดเผย ตนเองรู้ ผู้อื่นรู้ 2. พฤติกรรมซ่อนเร้น ตนเองรู้ ผู้อื่นไม่รู้ 3. พฤติกรรมบอด ตนเองไม่รู้ ผู้อื่นรู้ 4. พฤติกรรมใต้สำนึก ตนเองไม่รู้ ผู้อื่นไม่รู้

เทคนิคการสร้างมนุษยสัมพันธ์ในการทำงาน หลักสำคัญ - มนุษยสัมพันธ์เป็นเรื่องที่ต้องทำด้วยความจริงใจ - คนอื่นต่างก็มีความสำคัญด้วยกันทั้งสิ้น - ต้องเริ่มต้นด้วยการปรับปรุงตนเองก่อน - ไม่ต้องรอให้ใครมา “ทำดี” กับเราก่อน แต่เราต้อง “ทำดี” กับคนอื่นทันที

แนวปฏิบัติ - ยิ้ม - เห็นใจ ให้อภัย - จำชื่อ สกุลคนให้แม่น - ยิ้ม - เห็นใจ ให้อภัย - จำชื่อ สกุลคนให้แม่น - กล่าวคำขอบคุณ ขอโทษ - ชมเชย ยกย่องผู้อื่นเมื่อเขา ทำดี - เมื่อทำผิด รับผิดอย่างเต็มใจ - เป็นนักฟังที่ดี - ให้เกียรติผู้อื่นและสุภาพอ่อนโยน - รู้คุณคน - พยายามช่วยเหลือผู้อื่นเท่าที่ทำได้ - หลีกเลี่ยงการตำหนิ นินทา ทำให้ผู้อื่นเสียหน้า - ฯลฯ..........

หลักธรรมในการสร้างมนุษยสัมพันธ์ 1. หลักธรรมสำหรับคนทั่วไป - ราชสังคหวัตถุ 4 - ฆราวาสธรรม - สัปปุริสธรรม 7 2. หลักธรรมสำหรับผู้ปกครอง - ทศพิธราชธรรม 10 ประการ - พรหมวิหารธรรม

การสร้างมนุษยสัมพันธ์ ผู้บังคับบัญชา - ให้ความเคารพนับถือ - หากพบจุดอ่อน ไม่ควรนินทาว่าร้าย - หาจุดดีของผู้บังคับบัญชา เป็นแนวปฏิบัติ - ขอคำปรึกษา ถ้าแก้ไขไม่ได้ - รายงานความคืบหน้า - ทำงานตามขั้นตอน ไม่ข้ามขั้นตอน - ฯลฯ เพื่อนร่วมงาน - ให้เกียรติ - ปฏิบัติต่อเพื่อนด้วยความสุภาพ - ให้ความร่วมมือด้วยดี - หากมีข้อขัดแย้ง ช่วยกันแก้ไข ไม่ฟ้องผู้บังคับบัญชา - รับคำติชม อย่างใจกว้าง - ไม่อิจฉาริษยา - ขอคำปรึกษาแนะนำอย่างสุภาพ - ฯลฯ

ผู้รับบริการ, บุคคลทั่วไป ลูกน้อง - มีทัศนคติที่ดีต่อลูกน้อง - ให้เกียรติรับฟังความเห็น - ส่งเสริมพัฒนาลูกน้อง - ยุติธรรม ไม่ลำเอียง - ทำตัวเป็นตัวอย่างที่ดี - สั่งงาน ต้องมีข้อแนะนำ และสอนงาน - ติดตามความคืบหน้า ปัญหา อุปสรรค และช่วยแก้ปัญหา - ยกย่องชมเชยเมื่อทำดี - ฯลฯ ผู้รับบริการ, บุคคลทั่วไป - สำนึกในหน้าที่ - มีทัศนคติที่ดีต่อลูกค้า บุคคลทั่วไป - ปฏิบัติตนต่อผู้รับบริการด้วยความสุจริต ยุติธรรม สุภาพ - เต็มใจรับฟังข้อวิจารณ์ ข้อคิดเห็น - หาทางปรับปรุงงานให้ดี มีประสิทธิภาพอยู่เสมอ - เป็นตัวกลาง ทำความเข้าใจที่ดีระหว่างผู้รับบริการ หรือบุคคล ทั่วไป - ฯลฯ

หากท่านมีปัญหากับเพื่อนร่วมงานในเรื่องของงาน ท่านจะนำความรู้ด้านมนุษยสัมพันธ์แก้ปัญหาระหว่างท่านกับเพื่อนร่วมงานได้อย่างไร