โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนประกอบตอนต้น ปก ชื่อเรื่องวิจัย ชื่อผู้วิจัย โรงเรียน ชื่อโครงการ เดือน ปี ที่วิจัยเสร็จ คำนำ ส่วนประกอบ ที่มาของรายงาน วัตถุประสงค์ของรายงาน วิจัย.
Advertisements

: วัตถุประสงค์การวิจัย : การนิยามศัพท์
วิชาหัวข้อเรื่องที่ทันสมัยทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ 6 มกราคม 2555
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
เทคนิคการอ่านรายงานการวิจัย
รศ. ดร. สมศักดิ์ คงเที่ยง
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานการวิจัย.
การวิจัย RESEARCH.
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
Thesis รุ่น 1.
การเขียนขยายเค้าโครงเอกสารแต่ละบท ให้มีเนื้อหาสมบูรณ์
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การเตรียมเอกสาร สอบหัวข้อโครงงาน
การวางแผนและการดำเนินงาน
Management Information Systems
การวิจัยสถาบัน ดร.จักษ์ พันธ์ชูเพชร
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย
การติดตาม และประเมินโครงการ.
: หัวข้อและความสำคัญของปัญหา
ระเบียบวิธีวิจัย : ข้อเสนอโครงการวิจัย RESEARCH METHODOLOGY
: หัวข้อและประเด็นปัญหา
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง การตลาด
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง การตลาด
การเขียนโครงร่างการวิจัย
รศ. ดร. สุนีย์ เหมะประสิทธิ์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
การจัดกระทำข้อมูล.
การเขียนรายงานการวิจัย (เชิงปริมาณ)
บทที่ 8 การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
การออกแบบการวิจัย(Research Design)
กระบวนการวิจัยเชิงประเมิน
กระบวนการทำแผนการจัดการเรียนรู้
การเขียนรายงานการวิจัย
การพัฒนาระบบการเรียนการสอน
การเขียนรายงานการวิจัย
ปัญหาการวิจัย โดย ดร.วรรณะ บรรจง.
การเขียนรายงานการวิจัย
ศ.ดร.สุมาลี สังข์ศรี มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
แนวคิดในการทำวิจัย.
การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)
การทำผลงานวิชาการ สงวนลิขสิทธิ์.....โดย ดร.สุรชาติ สังข์รุ่ง.
กระบวนการวิจัย Process of Research
ใส่ชื่อเรื่องงานวิจัย กะทัดรัด มีตัวแปรต้น ตัวแปรตาม อย่างชัดเจน
การเขียนข้อเสนอโครงการ
การเขียนรายงาน.
14. การเขียนโครงร่างการวิจัย (แบบ ว -๑) (Proposal)
การประเมินนวัตกรรม Dr.Kulthida Nugultham.
แบบทดสอบก่อนเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง การเลือกหัวข้อโครงงาน.
การวางเค้าโครงการวิจัยในชั้นเรียน
การเขียนรายงานเพื่อนำเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์
ข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
สารานุกรมการศึกษา (The Encyclopedia of Education) ให้ความหมายไว้ว่า คือ “การจัดการสืบค้นอย่างมีระบบเกี่ยวกับการศึกษาและผลผลิตที่ได้รับจากการศึกษา”
บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
หลักการเขียนโครงการ.
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
สถิติเพื่อการวิจัย 1. สถิติเชิงบรรยาย 2. สถิติเชิงอ้างอิง.
การเขียนรายงานผลการวิจัย
การเขียนโครงการ.
15. การวิจัยเชิงสำรวจ Survey Research.
การเขียนรายงานการวิจัย (Research Paper)
แบบทดสอบก่อนเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง การเขียนเสนอรายงานโครงงาน คะแนนเต็ม 10 คะแนน.
การอ่านผลงานวิจัย / เอกสารวิชาการ เพื่อการทำวรรณกรรม ปริทัศน์
การวางแผนและการเขียนโครงการวิจัย
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
บทที่ 4 ข้อเสนอโครงการวิจัย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงร่างการวิจัย (Research Proposal) บทที่ 5 โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)

ขอบเขตเนื้อหา ความหมาย วัตถุประสงค์ ลักษณะของโครงร่างการวิจัย องค์ประกอบของโครงร่างการวิจัย

บทที่ 5 โครงร่างการวิจัย บทที่ 5 โครงร่างการวิจัย (Research Proposal) 5.1 ความหมาย แผนการวิจัยที่กำหนดกรอบแนวคิดและแนวทางในการทำวิจัยไว้ล่วงหน้า

5.2 วัตถุประสงค์ เป็นแนวทางดำเนินการวิจัย เป็นหลักฐานตรวจสอบการดำเนินงาน เป็นเอกสารของอนุมัติดำเนินการ เป็นเอกสารขอรับทุน

5.3 ลักษณะของโครงร่างการวิจัย ความชัดเจนของปัญหา ความสำคัญของปัญหา ความเหมาะสมของแบบการวิจัย งบประมาณที่สมเหตุสมผล ความสัมพันธ์สอดคล้องระหว่างหัวข้อ

5.4 องค์ประกอบของโครงร่างการวิจัย ชื่อเรื่อง ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา วัตถุประสงค์ของการวิจัย สมมติฐาน (ถ้ามี) ขอบเขตของการวิจัย ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการวิจัย คำนิยามศัพท์เฉพาะ

เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง วิธีดำเนินการวิจัย ประชากร กลุ่มตัวอย่าง เครื่องมือ การรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล แผนการดำเนินงาน งบประมาณ บรรณานุกรมชั่วคราว

1) ชื่อเรื่อง มีการระบุตัวแปรอย่างชัดเจน มีการบ่งชี้ถึงประเภทความสัมพันธ์ ระหว่างตัวแปรอย่างถูกต้อง มีการบ่งชี้ถึงประชากรเป้าหมาย ไม่มีคำที่ไม่สำคัญหรือไม่จำเป็น

2) ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา มีการอ้างอิงเพื่อเพิ่มน้ำหนักให้น่าเชื่อถือ ควรเน้นให้เห็นถึงปัญหา ความต้องการ ความสำคัญ หรือจำเป็นของปัญหา สามารถเชื่อมโยงไปยังวัตถุประสงค์ของ การวิจัยได้

ประเด็นสำคัญที่ควรกล่าวถึง สภาพที่พึงประสงค์/สภาพที่ควรจะเป็น สภาพปัจจุบัน ความแตกต่างระหว่างสภาพที่พึงประสงค์ กับสภาพปัจจุบัน (ระบุปัญหาที่เกิดขึ้น) แนวทางแก้ปัญหาโดยอ้างอิงจากทฤษฎี และผลงานการวิจัยที่เกี่ยวข้อง สรุปเชื่อมโยงเข้าสู่ปัญหาวิจัย

3) วัตถุประสงค์ของการวิจัย สอดคล้องกับปัญหาวิจัย มีความเป็นไปได้ที่จะได้คำตอบจาก การวิจัย ผู้อ่านสามารถเข้าใจได้ง่าย ใช้ประโยคบอกเล่า ระบุถึงพฤติกรรมที่สังเกตได้ วัดได้

4) สมมติฐานการวิจัย สอดคล้องกับปัญหาวิจัยและวัตถุประสงค์ ตั้งอยู่บนเหตุผล/หลักการที่เชื่อถือได้ หรือมาจากผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้องในอดีต ละเอียดและชัดเจนมากพอที่จะทดสอบได้ สามารถทดสอบได้ในเวลาที่กำหนด สอดคล้องกับความเป็นจริง เป็นประโยคบอกเล่า เข้าใจง่าย

5) ขอบเขตของการวิจัย ขอบเขตประชากร ขอบเขตเนื้อหา / เนื้อเรื่อง ตัวแปรที่ศึกษา

6) ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ เป็นผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากงาน วิจัยนี้โดยตรง ไม่เขียนเกินขอบเขตของการวิจัย

7) คำนิยามศัพท์เฉพาะ อธิบายคำศัพท์เฉพาะที่ใช้ในงานวิจัยนี้ คำที่ปรากฏในชื่อเรื่องหรือวัตถุประสงค์ ตัวแปรที่ศึกษา เขียนเป็นคำนิยามเชิงปฏิบัติการ (สังเกตได้ วัดได้)

8) เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง สรุปสาระสำคัญจากเอกสารและงานวิจัย ที่เกี่ยวข้อง แนวคิด/ทฤษฎีที่ใช้ในการวิจัย ตัวแปรที่ศึกษา เรียบเรียงจัดลำดับตามความสำคัญของ หัวเรื่องที่เกี่ยวข้อง

9) วิธีดำเนินการวิจัย ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากร มีลักษณะอย่างไร กลุ่มตัวอย่าง มีลักษณะอย่างไร เหตุผลในการเลือกกลุ่มตัวอย่าง และวิธีการได้มา/วิธีการสุ่มตัวอย่าง

9) วิธีดำเนินการวิจัย(ต่อ) เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล ชนิดของเครื่องมือ ประกอบด้วยอะไรบ้าง และแต่ละชนิดมีลักษณะอย่างไร วิธีการสร้างและตรวจสอบคุณภาพของ เครื่องมือ

9) วิธีดำเนินการวิจัย(ต่อ) วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้วิธีใด เก็บข้อมูลในช่วงเวลาใดบ้าง ใครเป็นผู้เก็บข้อมูล เก็บข้อมูลกับใคร

9) วิธีดำเนินการวิจัย(ต่อ) วิธีการวิเคราะห์ข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลเชิงบรรยาย วิเคราะห์ข้อมูลเชิงสรุปอ้างอิง เพื่อตอบสมมติฐาน