เรื่อง การวางแผนประเมินโครงการ เรื่อง การวางแผนประเมินโครงการ จัดทำโดย นางเกศรา เคนศรี นายดุษฎี ศรีปรัชญ์ นางสาวสุวดีศรีพัชร คำน่าน นายอเนก ประเสริฐ
การวางแผนประเมินโครงการ การดำเนินใดๆ ถ้าได้มีการวางแผนไว้ล่วงหน้า มีการติดตามควบคุมดูแลการปฏิบัติงานอย่างสม่ำเสมอ และมีการประเมินเมื่อมีการดำเนินงานเสร็จสิ้นลง โดยจัดทำการประเมินให้เป็นไปอย่างมีระบบตามหลักวิชา ย่อมจะทำให้การดำเนินงานนั้นมีทิศทางและเป้าหมายแน่นอน
ความหมาย การประเมินโครงการ หมายถึง กระบวนการในการ การประเมินโครงการ หมายถึง กระบวนการในการ เก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล และจัดระบบสารสนเทศ ที่มีประโยชน์ต่อการตัดสินใจดำเนินโครงการต่อไป
จุดมุ่งหมายของการประเมินโครงการ เพื่อตัดสินใจเกี่ยวกับการวางโครงการและการเขียนโครงการ เพื่อตัดสินใจเกี่ยวกับการปรับปรุงโครงการในขณะดำเนินงาน เพื่อตัดสินใจเกี่ยวกับการต่อ ขยาย ยอมรับ หรือยกเลิกโครงการ
การกำหนดสิ่งที่จะประเมินโครงการ ในการประเมินสิ่งใดสิ่งหนึ่งผู้ประเมินจะต้อง กำหนดสิ่งที่ต้องการประเมิน ซึ่งได้แก่จุดประสงค์ ของการประเมิน จะบ่งบอกเป้าหมายและสิ่งที่ต้องการ ประเมิน และตัวชี้วัดของการประเมิน จะระบุถึงเกณฑ์ ในการตัดสินคุณค่าของ สิ่งที่ต้องการประเมินตาม จุดประสงค์ที่กำหนด
ประเภทของการประเมิน (1) การประเมินก่อนเริ่มโครงการ (Pre-Evaluation) 1- การประเมินความเหมาะสม/ความจำเป็น 2- การประเมินความเป็นไปได้ 3- การประเมินตัวโครงการหรือร่างโครงการ (2) การประเมินระหว่างดำเนินการ (Formative, Midterm, Ongoing) - การประเมินการปฏิบัติ
(3) การประเมินหลัง/ระยะสิ้นสุด (Summative) 1- การประเมินผลของโครงการ (ประสิทธิผล) 2- การประเมินผลข้างเคียง (Side Effect) 3- การประเมินผลกระทบ (Impact)
ขั้นตอนในการวางแผนการประเมิน 1. ศึกษาและทำความเข้าใจโครงการ 2. กำหนดจุดมุ่งหมายของการประเมิน 3. การกำหนดเกณฑ์หรือมาตรฐานที่ใช้ในการประเมิน 4. กำหนดเครื่องมือในการประเมิน 5. กำหนดแหล่งข้อมูลตามเกณฑ์หรือตัวบ่งชี้ความสำเร็จ 6. กำหนดตารางในการปฏิบัติการประเมิน
ข้อระวัง ผลประเมินไม่น่าเชื่อถือ - กำหนดตัวบ่งชี้ไม่เหมาะสม ไม่ตรงประเด็น - การจัดเก็บรวบรวมข้อมูลไม่เป็นระบบ - สิ้นสุดโครงการแล้ว จึงคิดและทำการประเมิน - แหล่งข้อมูลไม่สามารถให้ข้อมูลได้จริง (Type III Error) - เครื่องมือรวบรวมข้อมูลด้อยคุณภาพ
ผลประเมินไม่เป็นที่ยอมรับ ผู้ประเมินขาดความเป็นกลาง เกิด Halo Effect การประเมินไม่เน้นการพัฒนา/สร้างสรรค์ การประเมินไม่เป็นระบบ ผลการประเมินขาดความสมเหตุสมผล เช่น ด่วนสรุป (Jump Conclusion) หรือสรุปเกินขอบเขต (Over Generalization)
สวัสดี ... สวัสดี
ความต้องการ ความจำเป็น จุดมุ่งหมายของการประเมิน ลูกค้าการประเมิน ลูกค้าปฐมภูมิ ลูกค้าทุติยภูมิ ความต้องการ ความจำเป็น วิเคราะห์ สังเคราะห์ จัดลำดับความสำคัญ จุดมุ่งหมายของการประเมิน
การกำหนดเกณฑ์ประเมิน ควรคำนึงถึง - ความเหมาะสม และเป็นไปได้ ตามสภาพและ ความสำคัญของโครงการรวมทั้งการลงทุน - การยอมรับ ซึ่งต้องอาศัยการพิจารณาร่วมกัน หรือ การมีส่วนร่วมในการกำหนด - กำหนดตามตัวบ่งชี้อย่างครบถ้วน
คุณลักษณะของเกณฑ์การประเมินที่ดี ข้อควรคำนึง รูปแบบการประเมิน 1. โมเดลความงอกงาม 2. โมเดลสัมบูรณ์ 3. โมเดลสัมพันธ์ คุณลักษณะของเกณฑ์การประเมินที่ดี ข้อควรคำนึง
คุณลักษณะของเกณฑ์การประเมินที่ดี ท้าทายความสามารถของผู้จัด และผู้เข้าร่วมโครงการ เหมาะสมกับระดับพื้นความรู้ของผู้เข้าร่วมโครงการ เป็นที่ยอมรับในหมู่นักวิชาการ และผู้ที่เกี่ยวข้อง มีอำนาจในการทำนายพฤติกรรม
วิธีหรือเครื่องมือรวบรวมข้อมูล เทคนิคเครื่องมือสำหรับใช้รวบรวมข้อมูลเพื่อการประเมิน มีดังนี้ 1. การสำรวจข้อมูลพื้นฐาน 2. การสัมภาษณ์ 3. การสังเกต 4. การให้รายงานตัวเอง 5. การสำรวจเอกสาร
บุคคล เอกสาร สถานที่ แหล่งข้อมูล
ลำดับที่ ระยะเวลา เดือน พ.ศ. ............... กิจกรรม เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. 1 กิจกรรมที่ 1 2 กิจกรรมที่ 2 3 กิจกรรมที่ 3 4 กิจกรรมที่ 4 .. “