โดย ด.ช ณัฐสิทธิ์ โพธิ์พิมลวัฒนะ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ด.ญ.กชกร โชคเฉลิมวงศ์ เลขที่ 15 ป.4/3
Advertisements

นางกาญจนา แย้มลักษณะเลิศ
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล
การประยุกต์ใช้แนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร.สมหวัง พิธิยานุวัฒน์
เศรษฐกิจพอเพียง เงื่อนไขการตัดสินใจ แนวทางปฏิบัติ หลักพิจารณา
วิสัยทัศน์จังหวัดพะเยา “เมืองเกษตรปลอดภัย การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน”
เศรษฐกิจพอเพียง.
ผลิตสินค้าและบริการ.
เศรษฐกิจพอเพียง M2A จัดทำโดย 1.ด.ช.สาโรจน์ อินทรไชย เลขที่ 16
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระบุรี เขต 1
ข้อควรรู้เพิ่มเติม ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับพุทธศาสนา
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง
เดินตามพ่อ อยู่อย่างพอเพียง หน้าหลัก ออกโปรแกรม.
ปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง.
รัฐศาสตร์ในยุคโลกาภิวัตน์
วิสัยทัศน์กรมส่งเสริมสหกรณ์ ยุทธศาสตร์จังหวัดกระบี่
วิธีการสหกรณ์ อุดมการณ์ หลักการ นายบรรทูรย์ ราชิวงค์
วิสัยทัศน์ สหกรณ์และสถาบันเกษตรกร มีความเข้มแข็ง เป็นพลังในการพัฒนาประเทศ และสมาชิกอยู่ในสังคมที่อยู่เย็นเป็นสุข.
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดสิงห์บุรี
วิสัยทัศน์กรมส่งเสริมสหกรณ์ (Vision) ปี
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
วิชาชีพครูไทยในปัจจุบันและอนาคต
เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม
เศรษฐกิจพอเพียง ด.ญ.ฐิติพร เลาหสูต.
เศรษฐกิจพอเพียง ด.ญ.กิตติมา สุภโรจนีย์ ป.4/6
ด.ช.ณัฐนันท์ขาววิเศษ เลขที่1ป4/6
84 พรรษามหาราช ด.ช.อชิรวิทย์ ดำเนินผล.
ด.ช.วุฒิภัทร พูนดี ด.ช.ยศวรรธน์ อรรถีโภค
84 พรรษา องมหาชัน.
ด.ญ.สุพรรณิกา วัฒนภูษิตสกุณ
ด.ญ.พิยดา คลังสิริ ชั้น ป.4/6 เลขที่35
เด็กชายคณนาถ ศรีรัตนสุภานนท์
เศรษฐกิจพอเพียง ด.ญ นันทิตา ชนปทาธิป ชั้นป.4/2 เลขที่28
โดยเด็กชายทรงธรรม รูปสวยดี
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การนำไปใช้ในการเรียน
เมนูหลัก เนื้อหา อาจารย์ที่ปรึกษา ประวัติผู้จัดทำ.
เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวทางการดำรงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดำเนินไปในทางสายกลางโดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัฒน์
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
KM ประจำเดือนตุลาคม 2550 สวัสดีค่ะ...พบกับข้อมูลข่าวสาร KM ของกองการเจ้าหน้าที่ ได้ที่นี่กันเป็นประจำ นะคะ ... และสำหรับการต้อนรับปีงบประมาณใหม่ ปี 2551.
นโยบายสาธารณะกับการปฏิรูปการเมือง การปกครอง และการบริหาร
เรารักในหลวง เรารักในหลวง.
ระบบวิจัยสุขภาพ ใน 2 ทศวรรษหน้า
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การกำหนดโจทย์วิจัย/ปัญหาการวิจัย (Research problem )
เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง หลวงในรักเรา เรารักในหลวง
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
THEORIES of POLITICAL ECONOMY And POLITICAL ECONOMY of DEVELOPMENT ผศ. ดร. จิตรกร โพธิ์งาม ผศ. ดร. จิตรกร โพธิ์งาม.
เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาที่ชี้แนวทางการดำรงชีวิต ที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมีพระ ราชดำรัสแก่ชาวไทยนับตั้งแต่ปี พ. ศ เป็นต้นมา.
กลยุทธ์การขับเคลื่อน งานพัฒนาชุมชน ให้มีประสิทธิภาพ ประจำปี ๒๕๕๖
พ่อของแผ่นดิน.
คุณธรรมนักปกครอง กับค่านิยมหลักของคนไทย นายประดิษฐ์ ยมานันท์
จุดเน้นวิชาประวัติศาสตร์
ทิศทางใหม่ของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
นายพนาสิน หอมจิตต์ ชั้น ปวช 1 เลขที่ 11 กลุ่ม 1 แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
เศรษฐกิจพอเพียง โดย ด.ช.พีรดนย์ ศรีสอน.
การวิจัยในงานประจำ.
จัดทำโดย ด.ช. ดิเรกรัตน์ ด่านลัมจาก เลขที่3
จะสำเร็จได้ด้วย ความพอดีของตน
GO!!.
เศรษฐกิจพอเพียง.
ผู้สอน นางพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี
“ชีวิตมีคุณค่า พึ่งพาเศรษฐกิจพอเพียง”
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
วิจัยในชั้นเรียนเรื่อง
เศรษฐกิจพอเพียง นางสาวสุนิสา จันทร์ตะบูน ชั้น ปวช 1 เลขที่ 20 กลุ่ม 2
เศรษฐกิจพอเพียง.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โดย ด.ช ณัฐสิทธิ์ โพธิ์พิมลวัฒนะ เศรษฐกิจพอเพียง โดย ด.ช ณัฐสิทธิ์ โพธิ์พิมลวัฒนะ

เศรษฐกิจพอเพียง จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี ไปที่: ป้ายบอกทาง, ค้นหา ระวังสับสนกับ ทฤษฎีใหม่ เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาที่ชี้แนวทางการดำรงชีวิต ที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมีพระราชดำรัสแก่ชาวไทยนับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2517 เป็นต้นมา[1][2] และถูกพูดถึงอย่างชัดเจนในวันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2540 เพื่อเป็นแนวทางการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจของประเทศไทย ให้สามารถดำรงอยู่ได้อย่างมั่นคงและยั่งยืนในกระแสโลกาภิวัตน์และความเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ[3]

เศรษฐกิจพอเพียงมีบทบาทต่อการกำหนดอุดมการณ์การพัฒนาของประเทศ โดยปัญญาชนในสังคมไทยหลายท่านได้ร่วมแสดงความคิดเห็น อย่างเช่น ศ.นพ.ประเวศ วะสี, ศ.เสน่ห์ จามริก, ศ.อภิชัย พันธเสน, และศ.ฉัตรทิพย์ นาถสุภา โดยเชื่อมโยงแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงเข้ากับวัฒนธรรมชุมชน ซึ่งเคยถูกเสนอมาก่อนหน้าโดยองค์กรพัฒนาเอกชนจำนวนหนึ่งนับตั้งแต่พุทธทศวรรษ 2520 และได้ช่วยให้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงเป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวางในสังคมไทย

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติได้เชิญผู้ทรงคุณวุฒิในทางเศรษฐกิจและสาขาอื่น ๆ มาร่วมกันประมวลและกลั่นกรองพระราชดำรัสเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อบรรจุในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 9[3][4] และได้จัดทำเป็นบทความเรื่อง "ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง" และได้นำความกราบบังคลทูลพระกรุณาขอพระราชทานพระบรมราชวินิจฉัย เมื่อวันที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2542 โดยทรงพระกรุณาปรับปรุงแก้ไขพระราชทานและทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้นำบทความที่ทรงแก้ไขแล้วไปเผยแพร่ เพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติของสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติและทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนประชาชนโดยทั่วไป เมื่อวันที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2542

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนี้ได้รับการเชิดชูเป็นอย่างสูงจากองค์การสหประชาชาติ ว่าเป็นปรัชญาที่มีประโยชน์ต่อประเทศไทยและนานาประเทศ[5] และสนับสนุนให้ประเทศสมาชิกยึดเป็นแนวทางสู่การพัฒนาแบบยั่งยืน[6] โดยมีนักวิชาการและนักเศรษฐศาสตร์หลายคนเห็นด้วยกับแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง แต่ในขณะเดียวกัน บางสื่อได้มีการตั้งคำถามถึงการยกย่องขององค์การสหประชาชาติ รวมทั้งความน่าเชื่อถือของรายงานศึกษาและท่าทีขององค์การ