การอ่านคำภาษาสันสกฤตที่เขียนด้วยอักษรไทย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
1. เปีย คำนี้ประสมด้วยสระอะไร?
Advertisements

สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
เสียงพยัญชนะ นางสมจิตร ภูเต็มเกียรติ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย โรงเรียนศรีบุณยานนท์

ยินดีต้อนรับสู่การเรียนรู้ คำที่ประสมสระ อา มีตัวสะกด
ระบบ เสียง ในภาษาไทย เสียง เกิดจากลมที่เคลื่อนตัวจากปอดผ่านหลอดลม ลำคอ กล่องเสียง ช่องปาก จมูก เพดาน ลิ้น ฟัน ริมฝีปาก.
CAI CAI CAI CAI CAI CAI CAI CAI CAI CAI CAI CAI
ตัวสะกดพาเพลิน โดย กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ช่วงชั้นที่ 1 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
นางสาวดวงเดือน สร้อยจิตร สำนักงานเขตบางคอแหลม
POWERPOINT ประกอบการสอนกลุ่มสาระภาษาไทย
ผู้จัดทำ นางนพมาศ สวัสดินันทน์ ตำแหน่ง ครูผู้สอนวิชาภาษาไทย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔
สำนักงานเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร
เรื่องความรู้ทางภาษา
ธรรมชาติและลักษณะของภาษา
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
การแจกลูกและการสะกดคำ โรงเรียนฟากกว๊านวิทยาคม อ.เมือง จ. พะเยา
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ ตา
โครงงาน : เพื่อสื่อการสอนเรื่องระบบสัทอักษรจีน
เรื่องคำควบกล้ำ คำควบกล้ำ คือ คำที่มีพยัญชนะต้น 2 ตัวเรียวกัน ประสมสระเดียวกันและอ่านออกเสียงพยัญชนะต้นทั้ง 2 ตัว พร้อมกัน ออกเสียงกล้ำกัน พยัญชนะตัวกล้ำ.
การเพิ่มคำ.
ลักษณะของภาษาไทย      ภาษาไทยเป็นเอกลักษณ์ประจำชาติ เป็นสมบัติทางวัฒนธรรมอันก่อให้เกิดความเป็นเอกภาพ จึงเป็นสมบัติของชาติที่ควรค่าแก่การเรียนรู้ อัจฉริยลักษณะของภาษาไทยมีความโดดเด่นเทียบเท่ากับภาษาสากลได้
ความหมายเซต การเขียนเซต ลักษณะของเซต.
ระบบอัตโนมัติและการพิมพ์
การอ่านออกเสียง ความมุ่งหมายในการอ่านออกเสียง
โดย มิส.สุพรรณี ทองสวัสดิ์ โรงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานี
Thai Handwritten Character Recognition by Artificial Neural Networks
Thai Handwritten Character Recognition by Artificial Neural Networks
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
เรื่อง พยัญชนะไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย วิชาภาษาไทย
รายวิชา GEL1101 การใช้ภาษาไทย ช่วงที่ 1 นำเสนอโครงงาน
วิชาวิถีธรรมวิถีไทย รหัส เรื่อง...บาลีศึกษาเบื้องต้น
สื่อการสอน : การทำรายการ 1 (8) รองศาสตราจารย์ปัญญา สุขแสน
ติวแนวข้อสอบภาษาไทย O&A-Net
ภาษาวิทยุกระจายเสียง
วิชาเลือกเสรี เรื่องภาษาไทย
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ความรู้เรื่องเสียงในภาษา

ทบทวนบทเรียน ENGLISH CLASS 6.
การอ่าน-การเขียนภาษาไทย
คำควบกล้ำ โดย นางอนงค์นาฏ ลาลุน ครู คศ.1 โรงเรียนบ้านโป่งกลางน้ำ
เรื่อง คำที่ใช้ รร ( ร หัน)
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา สงขลา เขต 3
พยัญชนะต้น.
การลงรายการทรัพยากรห้องสมุด
ภาษาบาลี-ภาษาสันสกฤต
มาตราตัวสะกด สื่อการสอนภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
ชั้นอนุบาล1 โรงเรียนบ้านควนไทรงาม
วิชาภาษาไทย เรื่อง สนุกกับพยัญชนะไทย
คำที่มาจากภาษาต่างประเทศ ( ภาษาบาลี - ภาษาสันสกฤต )
ตามอาตมาไปอ่านภาษาบาลีกัน
จักรยาน.
คำภาษาต่างประเทศที่ใช้ในภาษาไทย
เอกสารประกอบวิชาการอ่าน เรื่อง ความรู้พื้นฐานเรื่องการอ่าน
การประเมินพัฒนาการทางภาษาตามแนวสมดุลภาษา
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แม่กม แม่เกย แม่เกอว แม่กน แม่กก แม่กด แม่กบ แม่ ก กา
คำในมาตรา แม่ ก กา แม่ กบ แม่ กก แม่ กง แม่ เกอว แม่ กม แม่ กน แม่ เกย
คำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
มาตราตัวสะกด ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โดย อรวสา พยุห์ โรงเรียนอนุบาลระนอง
การออกแบบการเรียนรู้
สื่อเสริมความรู้เรื่อง คำ ร หัน (รร)
อาจารย์ชนิศา แจ้งอรุณ วิทยาลัยอาชีวศึกษาสันติราษฎร์ ในพระอุปถัมภ์
ผลงานวิจัยในชั้นเรียน โดย นางสาวแสงดาว บัวอินทร์
การสืบค้นสารสนเทศ สื่อบุคคล - แบบสอบถาม - การสัมภาษณ์
ชื่อเรื่อง ศึกษาผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะ การเขียน เรื่องชนิดของคำ วิชาภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1.
เสียงในภาษา วิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ครูกิ่งกาญจน์ สมจิตต์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การอ่านคำภาษาสันสกฤตที่เขียนด้วยอักษรไทย

1.17 การอ่านภาษาสันสกฤตที่เขียนด้วยอักษรไทย ให้กำหนด การอ่านคำภาษาสันสกฤตที่เขียนด้วยอักษรไทย 1.17 การอ่านภาษาสันสกฤตที่เขียนด้วยอักษรไทย ให้กำหนด จากเครื่องหมายพินทุ ( ) ที่อยู่ใต้พยัญชนะ และ เครื่องหมาย นิคหิต ( )ที่อยู่บนสระ ดังนี้ . O 1) ถ้าเป็นธาตุลงท้ายด้วยพยัญชนะ จะมีเครื่องหมายพินทุใต้พยัญชนะตัวสุดท้าย แสดงว่าพยัญชนะนั้นไม่มีสระประสม เวลาอ่านให้ออกเสียงคล้ายมีสระ อึ หรือ เออะ ในภาษาไทย ประสม เช่น ลภฺ (ธาตุ) อ่านว่า หรือ ละ - เภอะ จุรฺ (ธาตุ) อ่านว่า หรือ จุ - เรอะ

2) ถ้าเป็นคำนามทั่วไป เครื่องหมายพินทุอยู่ใต้พยัญชนะตัวใด การอ่านคำภาษาสันสกฤตที่เขียนด้วยอักษรไทย 2) ถ้าเป็นคำนามทั่วไป เครื่องหมายพินทุอยู่ใต้พยัญชนะตัวใด แสดงว่า พยัญชนะนั้นเป็นตัวสะกด ก็ให้พยัญชนะนั้นเป็น ตัวสะกด เช่น ธนินฺ อ่านว่า ธะ – นิน (ตัว น เป็นตัวสะกด) ภาณฺฑ อ่านว่า ภาณ – ฑะ (ตัว ณ เป็นตัวสะกด) ลพฺธ อ่านว่า ลัพ - ธะ (ตัว พ เป็นตัวสะกด)

อ่านว่า วยา - ปา - ทะ (ว กับ ย ออกเสียงกล้ำ) การอ่านคำภาษาสันสกฤตที่เขียนด้วยอักษรไทย 3) ถ้าเครื่องหมายพินทุอยู่ใต้พยัญชนะอื่น และมีพยัญชนะอรรธสระ คือ ย ร ล ว ตามหลัง แสดงว่าเป็นอักษรควบ ให้อ่านออกเสียงควบกล้ำ เช่น วฺยาปาท อินฺทฺริย อศฺว อ่านว่า วยา - ปา - ทะ (ว กับ ย ออกเสียงกล้ำ) อ่านว่า อิน - ทริ - ยะ (ท กับ ร ออกเสียงกล้ำ) อ่านว่า อัศ - ศวะ (ศ กับ ว ออกเสียงกล้ำ)

กลฺยาณ อ่านว่า กัล-ลฺ -ยา -ณะ การอ่านคำภาษาสันสกฤตที่เขียนด้วยอักษรไทย 4) ถ้าเครื่องหมายพินทุอยู่ใต้ตัว ล และมีพยัญชนะอื่นตาม ให้อ่านออกเสียงต่อเนื่องกัน คือ ตัว ล ใช้เป็นตัวสะกด และออกเสียงเลื่อนหน่อยหนึ่ง เช่น กลฺยาณ อ่านว่า กัล-ลฺ -ยา -ณะ

ปศฺจิม อ่านว่า ปัศ - ศฺ - จิม ภีษฺม อ่านว่า ภีษ - ษฺ -มะ การอ่านคำภาษาสันสกฤตที่เขียนด้วยอักษรไทย 5) ถ้าเครื่องหมายพินทุอยู่ใต้พยัญชนะ ศ ษ ส และมีพยัญชนะอื่นตามหลัง ถือว่าตัว ศ ษ ส เป็นตัวสะกด ให้ออกเสียงมีลมเสียดแทรกที่ไรฟันเล็กน้อย เช่น ปศฺจิม อ่านว่า ปัศ - ศฺ - จิม ภีษฺม อ่านว่า ภีษ - ษฺ -มะ ตสฺมาตฺ อ่านว่า ตัส -สฺ - มาต

พรฺหมา อ่านว่า พระ -หฺ - มา หรือ พระ - หึ - มา การอ่านคำภาษาสันสกฤตที่เขียนด้วยอักษรไทย 6) ถ้าเครื่องหมายพินทุอยู่ใต้ตัว ห ให้ออกเสียงในลำคอ คือ ออกเสียงคล้ายกับ ตัว ห ประสมด้วยสระ อึ ในภาษาไทย เช่น พรฺหมา อ่านว่า พระ -หฺ - มา หรือ พระ - หึ - มา พฺราหฺมณ อ่านว่า พรา - หฺ - มะ - นะ หรือ พรา - หึ - มะ - นะ

นฺฤปตึ อ่านว่า นรึ (หรือ นริ) – ปะ – ติม คนฺตํ อ่านว่า คัน - ตุม การอ่านคำภาษาสันสกฤตที่เขียนด้วยอักษรไทย 7) เครื่องหมายนิคหิต ที่มาคู่กับสระ อะ อิ และ อุ ให้ออกเสียงเป็นตัว ม สะกดเสมอ เช่น กุลํ อ่านว่า กุ- ลัม นฺฤปตึ อ่านว่า นรึ (หรือ นริ) – ปะ – ติม คนฺตํ อ่านว่า คัน - ตุม