โครงสร้างทางธรณีวิทยา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
จัดทำโดย 1.ด.ช.พนาดร เขื่อนแก้ว ม.2/5 เลขที่ 6
Advertisements

ลักษณะภูมิศาสตร์ภาคใต้
ซากดึกดำบรรพ์ .
เรื่อง ลักษณะทางกายภาพของภูมิภาคเอเชียตะวันตกเฉียงใต้ นำเข้าสู่บทเรียนและสรุปบทเรียน Company Logo.
กำแพงเมืองจีน (ที่มา :
ทัชมาฮาล (ที่มา : เรื่อง ลักษณะทางกายภาพของภูมิภาคเอเชียใต้ นำเข้าสู่บทเรียนและสรุปบทเรียน ทัชมาฮาล.
สภาพแวดล้อมทางกายภาพของโลก
แบบทดสอบ รูปทรงสัณฐานของโลกลักษณะใดทำให้โลกมิได้มีทรงกลมเหมือนลูกปิงปอง ก แกนของโลก เอียง ข มีผิวขรุขระคล้ายผลส้ม ค ขั้วโลกทั้งสองยุบตัวลงเล็กน้อย ง มีพื้นน้ำมากกว่าผิวพื้นดิน.
หินแปร (Metamorphic rocks)
นางสาววิไลวรรณ อยู่เย็น
กลุ่ม ดาวโลก ด.ญ.กรรณิการ์ เพ็งเอี่ยม เลขที่ 11 ม.2/1
รายงานเรื่อง ภาคเหนือ
ลักษณะภูมิประเทศ.
ภูมิประเทศภูมิภาคต่างๆ ของทวีปเอเชีย
แผ่นดินไหว.
คลื่นพายุซัดชายฝั่ง กลุ่มที่6.
รายงาน เรื่อง ดินถล่ม เสนอ อาจารย์วรรณา ไชยศรี.
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
น้ำและมหาสมุทร.
โครงสร้างปัจจุบัน สำนักสำรวจด้านวิศวกรรมและธรณีวิทยา
ผลกระทบของแผ่นดินไหวที่มีต่อเขื่อน ในประเทศญี่ปุ่น
เรื่องการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพของประเทศไทย
คุณครูโชคชัย บุตรครุธ
สภาพแวดล้อมทางภูมิศาสตร์
ทวีปแอฟริกา เด็กชายวุฒิชัย เพชรฤทธิ์ เลขที่ 2 ม.3.
สภาพแวดล้อมทางภูมิศาสตร์
สัณฐานและโครงสร้างของโลก
ภาคใต้สมัยก่อนประวัติศาสตร์
เปลือกโลก(crust) ประกอบด้วย Oxygen 45.2 ซิลิกอน 27.2 อลูมิเนียม 8.2
สถานที่ท่องเที่ยวอำเภอ สามร้อยยอด
Booth and Sattayarak, 2010.
เรื่อง ประเทศออสเตรเลีย นฤมล ย้อนใจทัน โรงเรียนอุดมดรุณี ผู้จัดทำ
ลักษณะภูมิอากาศในทวีปยุโรป
ลักษณะทางกายภาพของ ทวีปยุโรป.
ภูมิศาสตร์ของทวีปยุโรป
สภาพแวดล้อมทางกายภาพ
สภาพทางเศรษฐกิจ ใน ยุโรป.
ลักษณะภูมิประเทศของยุโรป
ลักษณะทางภูมิประเทศและภูมิอากาศของทวีปยุโรป
จังหวัดจันทบุรี นายมณเฑียร สุขผลรหัสนิสิต คณะสาธารณสุขศาสตร์
ลาว วิรันดา สุนทรภักดี คณะศิลปกรรมศาสตร์ สาขานิเทศศิลป์
อุทยานแห่งชาติภูเรือ
จังหวัดสตูล โดย นางสาวทิพากร เหร็บค่วนเคี่ยม
ตราด.
อุทยานแห่งชาติภูกระดึง
รายชื่อสมาชิกกลุ่ม ชมเชยที่ 4
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
ทวีปเอเชียน่ารู้ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เข้าสู่บทเรียน.
ภาคใต้.
คลิกที่ รูป ที่ตั้ง : ประเทศไทย หรือ ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐที่ตั้งอยู่ใน ทวีปเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพรมแดนทางทิศตะวันออกติด ลาวและกัมพูชา ทิศใต้ติดอ่าวไทยและมาเลเซีย.
แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์
ดินถล่ม.
วิทยาศาสตร์ ว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยครูศรีไพร แตงอ่อน.
ลักษณะภูมิประเทศของทวีปยุโรป
ภูมิอากาศแบบกึ่งอาร์กติก
โดย ครูธันว์ชนก บัวคงดี
แหล่งท่องเที่ยวไทย.
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส 41102
ดวงจันทร์ (Moon).
โลกและการเปลี่ยนแปลง
สถานที่ท่องเที่ยวที่ชอบ
โดย 2.น.ส.ญานิดา พูนสวัสดิ์ ม.6/5 เลขที่ 33
ที่ตั้งภาคตะวันตกของประเทศไทย
ภัยธรรมชาติ ที่เกิดขึ้นในจังหวัดน่าน
โครงสร้างภายในของโลก แบ่งตามคุณสมบัติทางกายภาพ
ภูมิศาสตร์ทวีปเอเชีย
ให้นักเรียนดูภาพแผนที่ต่อไปนี้ แล้วช่วยบอกด้วยว่าเป็นแผนที่ชนิดใด
หินแกรนิต หินแปรเนื้อหยาบ มีริ้วขนาน หยักคดโค้งไม่สม่ำเสมอ สีเข้มและจางสลับกัน แปรสภาพมาจากหินแกรนิต โดยการแปรสภาพบริเวณไพศาล ที่มีอุณหภูมิสูงจนแร่หลอมละลาย.
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง ตำแหน่งบนพื้นโลก
1.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงสร้างทางธรณีวิทยา ลักษณะภูมิประเทศมีความสัมพันธ์กับโครงสร้างทางธรณีวิทยา ได้แก่ บริเวณเทือกเขาที่ราบสูง ที่ราบ เป็นต้น ซึ่งการเกิดแนวเทือกเขาสูง นักธรณีวิทยาให้แนวคิดตามข้อสมมติฐานว่า เปลือกโลกประกอบด้วยผืนแผ่นธรณีขนาดใหญ่ๆ ที่เรียกว่า เพลต เทคโทนิกส์ จำนวนหลายแผ่นด้วยกัน เพลตเหล่านี้เคลื่อนที่ได้อย่างช้าๆ โดยอาจเคลื่อนที่ออกจากกันหรือเคลื่อนที่เข้าหากันจนชนกันแล้วอาจจะเกยกัน หรือเพลตหนึ่งมุดลงไปใต้อีกเพลตหนึ่ง

โครงสร้างทางธรณีวิทยา การเคลื่อนที่ของเพลตในลักษณะดังกล่าวทำให้เกิดภูมิประเทศเป็นเทือกเขา ภูเขาขึ้นในบริเวณส่วนต่างๆของโลกในช่วงระยะเวลาที่ต่างกัน การศึกษาครั้งนี้แบ่งลักษณะภูมิประเทศตามโครงสร้างธรณีวิทยาออกเป็น 3 ประเภท คือ 1. เทือกเขาในภาคเหนือ ภาคตะวันตก ภาคใต้ 2. ที่ราบภาคกลาง 3. เขตที่ราบภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

1. เทือกเขาในภาคเหนือ ภาคตะวันตก ภาคใต้ มีลักษณะเป็นแนวเทือกเขาที่ต่อเนื่องกันโดยตลอด เทือกเขาดังกล่าวต่อเนื่องมาจากเทือกเขาหิมาลัยที่โค้งมาทางใต้ โครงสร้างทางธรณีวิทยาซึ่งเป็นรากฐานของภูมิประเทศได้แก่ รอยคดโค้งที่วางตัวขนานกัน อายุของหินแกรนิตที่ดันตัวเป็นแกนของเทือกเขามีตั้งแต่ปลายมหายุคพาเลโอโซอิดจนถึงมหายุคซีโนโซอิก

1. เทือกเขาในภาคเหนือ ภาคตะวันตก ภาคใต้ เทือกเขาในภาคเหนือ ภาคตะวันตก และภาคใต้ ถือกำเนิดจากการเคลื่อนตัวของเพลต ที่เรียกว่า เพลตอินเดีย เคลื่อนเข้ามาหาเพลตเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยส่วนหนึ่งของเพลตอินเดียได้มุดลงไปใต้เพลตเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และดันให้เพลตเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เกยสูงขึ้น กระบวนการนี้เป็นเหตุให้เกิดทิวเขาสูงๆ ขึ้นในคาบสมุทรอินโดจีน รวมทั้งประเทศไทย

1. เทือกเขาในภาคเหนือ ภาคตะวันตก ภาคใต้ ผลของการเคลื่อนตัวของเพลตอินเดียและเพลตเอเชียตะวันออกเฉียงใต้นอกจากจะทำให้เกิดภูเขาสูงในประเทศไทยแล้ว ยังก่อให้เกิดการทรุดตัวเป็นแอ่งเปลือกโลกขนาดใหญ่ขึ้นในภาคกลางและอ่าวไทย รวมทั้งการยกตัวขึ้นเป็นที่สูงในภาคตะวันออกเฉียงเหนือด้วย

1. เทือกเขาในภาคเหนือ ภาคตะวันตก ภาคใต้ แผนที่แสดงลักษณะภูมิประเทศ

2. ที่ราบภาคกลาง การเกิดรอยเลื่อนขนาดใหญ่ของเปลือกโลกทำให้บริเวณภาคกลางของประเทศไทยต่อเนื่องไปถึงอ่าวไทย เกิดการทรุดตัวกลายเป็นแอ่งเปลือกโลกขนาดใหญ่ แอ่งเปลือกโลกนี้เกิดตอนปลายมหายุคมีโซโซอิกต่อเนื่องกับมหายุคซีโนโซอิก สันนิษฐานได้จากตะกอนที่ทับถมอยู่ในบริเวณนั้นซึ่งมีอายุตั้งแต่ยุคเทอร์เชียรีเรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน รวมทั้งพบแหล่งน้ำมันดิบและก๊าซธรรมชาติที่เกิดในยุคเทอร์เชียรีก็พบในบริเวณนี้ด้วย

2. ที่ราบภาคกลาง การเปลี่ยนแปลงทางธรณีวิทยา การทับถมของตะกอน การเปลี่ยนแปลงของระดับน้ำทะเลมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของชายฝั่งทะเล จากการศึกษาทางโบราณคดีพบว่าเมืองโบราณหลายแห่ง เช่น อู่ทอง นครปฐม ซึ่งปัจจุบันอยู่ห่างจากทะเล เคยเป็นเมืองที่ตั้งใกล้ชายฝั่งทะเลมาก่อน โดยมีร่องรอยของคูคลองที่ขุดจากเมืองเชื่อมโยงออกสู่ทะเลได้ แสดงให้เห็นว่าแนวของชายฝั่งทะเลอยู่ลึกเข้าไปในผืนแผ่นดินมากกว่าในปัจจุบัน

3. เขตที่ราบภาคตะวันออกเฉียงเหนือ การทรุดตัวของแอ่งเปลือกโลกในภาคกลางและอ่าวไทย เกิดขึ้นพร้อมกับการยกตัวสูงขึ้นของเทือกเขาในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ที่เรียกกันว่า ที่ราบสูงโคราช ซึ่งลักษณะเป็นขอบชันด้านทิศตะวันตกและทิศใต้ และค่อยๆ ลาดลงเป็นแอ่งบริเวณตอนกลาง แอ่งบริเวณตอนกลางนี้แยกออกเป็น 2 แอ่ง โดยมีเทือกเขาภูพานเป็นแนวกั้น แอ่งทางด้านเหนือ เรียกว่า แอ่งสกลนคร ส่วนแอ่งทางด้านใต้เรียกว่า แอ่งโคราช

3. เขตที่ราบภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ก่อนการยกตัวขึ้นเป็นที่สูง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือเคยเป็นแอ่งเปลือกโลกขนาดใหญ่มาก่อน และมีการทับถมของโคลนตะกอน ซึ่งต่อมากลายเป็นหินชั้นในยุค จูแรสสิกและยุคครีเทเชียส เรียกชื่อว่าหมู่หินโคราช ประกอบด้วย ชั้นหินกรวดมน หินทราย และหินดินดาน เป็นต้น จากนั้นมีการทับถมของชั้นเกลือหินสลับกับหินตะกอนรวมกันเป็นชั้นหนา ชั้นเกลือหินนี้เป็นทรัพยากรและเป็นต้นเหตุสำคัญทำให้เกิดน้ำและดินเค็ม