2. เลนส์ปกติ หรือเลนส์มาตรฐาน (Normal lens or Standard lens)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน

Advertisements

การ อบรม โครงการพัฒนาระบบ สารสนเทศชุมชนภายใต้ โครงการจัดตั้งศูนย์การ เรียนรู้ ICT ชุมชน.
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
สมดุลกล (Equilibrium) ตัวอย่าง
กลุ่ม L.O.Y..
ลองคิดดู 1 มวล m1 และมวล m2 วิ่งเข้าชนกันแล้วสะท้อนกลับทางเดิม ความเร่งหลังชนของมวล m1 และ m2 เท่ากับ 5 m/s2 และ 2 m/s2 ตามลำดับ ถ้า m1 มีมวล 4 kg มวล.
เทคนิคการถ่ายภาพ คณะกรรมการจัดการความรู้ กองกิจการนักศึกษา.
การสร้างมุมโดยใช้ไม้โพรแทรกเตอร์
แสงและการมองเห็น ผู้จัดทำ นางเฉลิมศรี เปียปาน.
จำนวนเต็ม จำนวนเต็ม  ประกอบด้วย                   1. จำนวนเต็มบวก    ได้แก่  1 , 2 , 3 , 4, 5 , ....                   2.  จำนวนเต็มลบ      ได้แก่  -1.
ขนาดเชิงมุม h q1 S1 q2 q2 > q1 S2 < S1
บทที่ 4 ระบบทางทัศนศาสตร์พื้นฐาน
ตาและการมองเห็น กระจกตา - โฟกัสภาพ - ระยะโฟกัสคงที่ เลนส์ตา - โฟกัสภาพ
=> Co= 299,792.5 km/s ( สุญญากาศ)
ดวงอาทิตย์ขึ้นทางทิศตะวันออก เวลา น. ไปตกยังทิศตะวันตก เวลา 18
จำนวนนับ และการบวก การลบ การคูณ การหารจำนวนนับ
ทศนิยมและเศษส่วน F M B N โดย นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช.
องค์ประกอบ Graphic.
บทที่ 6 การเขียนภาพสามมิติ ภาพอ็อบลีก
บทที่ 1 อัตราส่วน.
ช่วงความชัดลึกของภาพ ภาพจะมีช่วงความชัดลึกมากหรือ น้อยขึ้นอยู่กับเหตุผล 3 ประการ คือ.
1 บทที่ 7 สมบัติของสสาร. 2 ตัวอย่าง ความยาวด้านของลูกบาศก์อลูมิเนียม มีค่าเท่าใด เมื่อน้ำหนักอลูมิเนียมมีค่าเท่ากับ น้ำหนักของทอง กำหนดความหนาแน่น อลูมิเนียม.
วิชาถ่ายภาพ.
การเรียนรู้ คณิตศาสตร์
Image Processing & Computer Vision
การใช้โสตทัศนูปกรณ์ในห้องเรียน
บทที่ 7 การทดสอบแรงอัด Compression Test
บทที่ 4 การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming)
การจัดแสงสำหรับงานโทรทัศน์
ความสำคัญของภาพ กับการผลิตรายการโทรทัศน์
3. ขึ้นอยู่กับระยะทางจากวัตถุถึงตัวกล้อง
นวัตกรรมส่งเสริมสุขภาพ
มาตราส่วนในงานเขียนแบบ วิทยาลัยเทคนิคราชบุรี
ใบความรู้ที่ 7 เรื่อง การเชื่อมเหตุการณ์ เวลา สถานที่ (Transition)
ศัพท์ทางเทคนิคกับการถ่ายทำและควบคุมกล้อง
โดย ครูเพ็ญนภา ทองนุ่ม
Mathematics Money
การมองเห็น และความผิดปกติของตา
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
การเลี้ยงปลาหางนกยูง
การเตรียมตัวถ่ายภาพ Outdoor Photography
Background / Story Board / Character
หลักสูตรสู่ความสำเร็จใน 90 วัน
เกม 4 ตัวเลือก นายธีรพงษ์ เค้าภูไทย เริ่มต้น.
ขนาดภาพ.
การจัดองค์ประกอบของภาพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การนำเสนองาน.
ครู สุนิสา เมืองมาน้อย
ความรู้พื้นฐานของระยะภาพ
กล้องโทรทรรศน์.
หน่วยที่ 8 การตกแต่งภาพถ่าย
เรื่อง เงิน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
บทที่8 การเขียน Storyboard.
แสง การมองเห็น และทัศนอุปกรณ์
1. เลนส์นูน เป็นเลนส์ที่ผิวโค้งตรง กลางหนากว่าบริเวณขอบ 2
วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง การประมาณค่า ครูสุชาฎา รถทอง โรงเรียนปทุมวิไล
ผลงานโดย 1. นางสาวกนกนันทน์ สารสมัคร
นางสาวจุไรรัตน์ เพิ่มสุข
Lighting Designer นักออกแบบแสง.
เทคนิคการถ่ายภาพทิวทัศน์-บุคคล ในเวลากลางวันและกลางคืน
เทคนิคการปรับกล้อง.
แบบทดสอบชุดที่ 1 คำชี้แจง จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียวทำลงในกระดาษคำตอบที่กำหนดให้
ค่ารูรับแสง - F/Stop ค่ารูรับแสงที่มีค่าตัวเลขต่ำใกล้เคียง 1 มากเท่าไหร่ ค่าของรูรับแสงนั้นก็ยิ่งมีความกว้างมาก เพราะเราเปรียบเทียบค่าความสว่างที่ 1:1.
การถ่ายภาพ ภาพถ่าย 1 ภาพ สื่อความหมาย 100 คำ หรือ 1,000 คำ
ระบบสุริยะจักรวาล จัดทำโดย ด.ช.นครินทร์ ขันอ้าย ชั้น ม.1/11 เลขที่ 4
ผศ.ดร.ภัทรวรรธน์ จีรพัฒน์ธนธร
ตัวอย่าง : ประสิทธิภาพในการผลิต คำถาม : ให้การผลิตสินค้าชนิดหนึ่งมีผู้ผลิต 2 ราย ที่มี Production function เหมือนกันดังนี้ q = K 0.25 L 0.75 ราย A ใช้
 Image device 1/3-inch color CMOS ระบบ TV PAL/NTSC  Effective 628 x 582 pixels / 510 x 492 pixels  ขนาดกล้อง 4.69 mm. x 3.54 mm. / 5.78 mm. x 4.19 mm.
ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 คณิตศาสตร์ ( ค 31101) กราฟและ การนำไปใช้
การถ่ายภาพ อ.จุฑามาศ ถาวร.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

2. เลนส์ปกติ หรือเลนส์มาตรฐาน (Normal lens or Standard lens) มีทางยาวโฟกัสอยู่ระหว่าง 40-55 ม.ม. มีมุมในการรับภาพประมาณ 50 องศา ซึ่งใกล้เคียงกับการมองเห็นของตาคน แต่ถ่ายภาพใกล้กล้องมากๆ ภาพที่ได้จะผิดส่วนไปบ้าง

ภาพตัวอย่าง จากการใช้เลนส์ปกติหรือเลนส์มาตรฐาน ภาพตัวอย่าง จากการใช้เลนส์ปกติหรือเลนส์มาตรฐาน 50 mm.

50 mm.

50 mm.

3. เลนส์ถ่ายไกล (Telephoto lens) เป็นเลนส์ที่มีทางยาวโฟกัสยาวกว่าเลนส์ปรกติ และมีมุมกว้างประมาณ 35 องศา หรือน้อยกว่านี้ เลนส์ยิ่งทางยาวโฟกัสยาวเท่าไรก็ยิ่งมีมุมในการดูแคบลงเท่านั้น เลนส์ถ่ายภาพไกลสามารถดึงภาพในระยะไกล ๆ ให้เห็นใกล้ขึ้นจึงเหมาะกับการถ่ายภาพที่วัตถุอยู่ไกลมากๆ และ ไม่สามารถเข้าไปถ่ายภาพใกล้ๆ ได้

เลนส์ถ่ายไกลมีทางยาวโฟกัสต่างกันออกไปดังนี้ 3.1 เลนส์ถ่ายไกลระยะสั้น (Short telephotos) มีทางยาวโฟกัสระหว่าง 80 – 135 ม.ม. 3.2 เลนส์ถ่ายไกลระยะปานกลาง (Medium telephotos) มีทางยาวโฟกัสระหว่าง 150 – 250 ม.ม. 3.3 เลนส์ถ่ายไกลระยะไกล (Long telephotos) มีทางยาวโฟกัสระหว่าง 300 – 600 ม.ม. 3.4 เลนส์ถ่ายไกลระยะไกลพิเศษ (Super long telephotos) มีทางยาวโฟกัสระหว่าง 800 – 2000 ม.ม.

เนื่องจากเลนส์ถ่ายภาพไกลให้ภาพที่มีความชัดลึกน้อยเหมาะสำหรับการถ่ายภาพที่ต้องการให้ฉากหลังพร่ามัว เพื่อวัตถุจะได้ดูเด่นขึ้นทำให้ได้ภาพสวยงามและมีคุณค่าทางศิลปะมากขึ้น

ภาพตัวอย่าง จากการใช้เลนส์ถ่ายไกล ภาพตัวอย่าง จากการใช้เลนส์ถ่ายไกล 105 mm. 105 mm.

180 mm. 200mm.

เลนส์พิเศษชนิดอื่นๆ เลนส์ถ่ายภาพต่างระยะหรือเลนส์ซูม (Zoom lens) เป็นเลนส์ที่มีทางยาวโฟกัสหลายขนาดอยู่ในเลนส์เดียวกัน จึงเหมือนมีเลนส์หลายตัวให้เลือกใช้งานได้ตามความต้องการ โดยไม่ต้องถอดเปลี่ยนเลนส์

ที่กระบอกเลนส์จะมีตัวเลขบอกระยะทางยาวโฟกัสของเลนส์ให้เลือกในขณะถ่ายภาพโดยการเลื่อนเลนส์เข้าออก จึงต่างไปจากเลนส์ถ่ายไกล (Telephoto lens) ที่มีทางยาวโฟกัสตายตัว การใช้เลนส์ซูมนี้สะดวกมาก ในกรณีที่ถ่ายภาพวัตถุที่เปลี่ยนระยะทางอยู่ตลอดเวลา เช่น ภาพการแข่งขันกีฬา หรือภาพงานพิธีต่างๆ ที่ต้องถ่ายทั้งระยะไกลและใกล้ ในเวลาใกล้เคียงกัน เป็นต้น

ผลจากการใช้เลนส์ทางยาวโฟกัสระยะต่าง ๆ

ภาพบน เป็นภาพแสดงการเกิดภาพของเลนส์ที่มีทางยาวโฟกัสสั้น (Focal length) ส่วนภาพล่าง เกิดจากเลนส์ที่มีทางยาวโฟกัสมากกว่า จุด B เป็นจุดโฟกัสของเลนส์ซึ่งเป็นตำแหน่งที่ให้ภาพชัดที่สุด

วัตถุจากจุด A ถึง C ในภาพบนให้ความคมชัดมากกว่าจุด X ถึง Y ในภาพล่างในระยะทางเท่ากัน ซึ่งจุด X และ Y ของภาพล่าง อยู่ในตำแหน่งเดียวกับจุด A และ C ของภาพบน แต่จุด X และ Y เมื่อถ่ายด้วยเลนส์ทางยาวโฟกัสมาก ภาพจะไม่ชัด หรืออยู่นอกระยะโฟกัส (Out of Focus) แต่ถ้าถ่ายด้วยเลนส์ทางยาวโฟกัสสั้นก็จะอยู่ในระยะชัด

ดังนั้น เลนส์ที่มีทางยาวโฟกัสสั้น จึงให้ภาพที่มีช่วงความชัดลึกมากกว่าเลนส์ที่มีทางยาวโฟกัสยาวมากๆ การถ่ายภาพด้วยเลนส์มุมกว้าง (Wide angle Lens) จึงให้ภาพที่มีช่วงความชัดลึกมากว่าการถ่ายภาพด้วยเลนส์ปกติ (Normal lens) แต่ภาพที่ถ่ายจากเลนส์ปกติจะมีช่วงความชัดลึกมากกว่าภาพที่ถ่ายจากเลนส์ถ่ายไกล (Telephoto lens)

ช่วงความชัดลึกมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับทางยาวโฟกัสของเลนส์ ภาพเปรียบเทียบ ช่วงความชัดลึกมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับทางยาวโฟกัสของเลนส์ 35mm. f5.6 1/15วินาที

105mm. f5.6 1/15 วินาที 50mm. f5.6 1/15 วินาที

ภาพตัวอย่าง 21mm. f8 1/15 วินาที ภาพนี้ใช้เลนส์มุมกว้างช่วงความชัดลึกของภาพจึงมีมาก

100mm. f4 1/60 วินาที ภาพนี้ใช้เลนส์ถ่ายไกลช่วงความชัดลึกของภาพจึงมีน้อย

500mm. f8 1/250 วินาที สองภาพนี้ใช้เลนส์ถ่ายไกลช่วงความชัดลึกของภาพจึงมีน้อยจะเห็นได้ว่าจะชัดเฉพาะจุดที่โฟกัสส่วนอื่นๆ จะไม่ชัด 105mm. f5.6 1/30 วินาที