สรุปการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
Advertisements

การบริหารแผนสู่การปฏิบัติ
วาระที่ 3.6 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานเกี่ยวกับตัวชี้วัด (กพร.)
โครงการบูรณาการงานสุขภาพจิตหรือจิตเวช สู่เครือข่ายนอกระบบสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2553
กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการของกระทรวง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557
ส่วนมาตรฐานและพัฒนาระบบการตรวจสอบภาษีและการปราบปราม
รายละเอียดตัวชี้วัดที่ 10 (จังหวัด)
แนวทางการรายงาน ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
การดำเนินการ ขั้น 1 : ◊ แต่งตั้งคณะทำงาน ◊ จัดทำแผนดำเนินการ (Roadmap) ◊ จัดประชุมชี้แจง คณะทำงานดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ควรประกอบด้วย.
ข้อควรพิจารณาในการปรับแผนยุทธศาสตร์ คณะวิทยาการสารสนเทศ พ. ศ
“ การเพิ่มประสิทธิภาพการตั้งงบประมาณ หมวดค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้าง ”
การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชี้ สกอ. และ สมศ.
ตัวชี้วัดที่ 9 : ร้อยละความสำเร็จ ในการให้ความร่วมมือดำเนินงานตามคู่มือปฏิบัติงานกระบวนการ ที่สร้างคุณค่า และกระบวนการสนับสนุนของกรมอนามัย.
คำอธิบาย ความสำเร็จของการจัดการข้อมูลสินค้าและบริการ
คำอธิบาย ความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการ
หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผล การปฏิบัติราชการข้าราชการและ พนักงานราชการกรมควบคุมโรคประจำปีงบประมาณ 2557.
การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตาม ตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ วันที่ 29 มกราคม 2551.
คำรับรองการปฏิบัติราชการ
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
1. แบบ SNRU-ERM 1 แบบแสดงขั้นตอนการดำเนินงาน (Key Process)
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
การบริหารความเสี่ยง ของสหกรณ์
ตัวชี้วัดตามคำรับรองของ กพร. กรมส่งเสริมสหกรณ์
งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ผลการปฏิบัติราชการตามคำ รับรอง การปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การกรอกแบบรายงานผลการดำเนินการบริหารความเสี่ยง
Analyzing The Business Case
หมวด2 9 คำถาม.
แนวทางการดำเนินงานโครงการสำคัญ ปีงบประมาณพ.ศ.2554 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ โครงการ การบริหารงบประมาณตามแผนปฏิบัติการ วัตถุประสงค์ เพื่อให้หน่วยงานทุกหน่วยงานใช้เงินงบประมาณ ทันเวลา.
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
2 ผลการดำเนินงาน รอบ 9 เดือน ตัวชี้วัด / ข้อมูลพื้นฐาน ประกอบ ตัวชี้วัด น้ำหนั ก ( ร้อย ละ ) ผลการ ดำเนินงา น ค่า คะแนน ที่ได้ ค่า คะแนน ถ่วง น้ำหนัก.
การสำรวจหา ค่ากลาง นโยบายรัฐบาล เรื่องการพัฒนาสุขภาพของ ประชาชน ประกาศเมื่อ 23 สิงหาคม จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมี เป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย.
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อ
ผู้รับผิดชอบ : สำนักงาน ก.ก.
การประชุมชี้แจงรายละเอียดตัวชี้วัด ประจำปี 2556
ตัวชี้วัดที่ 2.4 ระดับความสำเร็จของการจัดทำระบบการบริหารความเสี่ยงและการควบคุม-ภายใน ประจำปีงบประมาณ 2557.
ตัวชี้วัดที่ 3.5 ร้อยละของคุณภาพการบริการ ของสำนักงานเขต
การปรับปรุงกรอบการประเมิน กองบัญชี สำนักการคลัง
กองบัญชี สำนักการคลัง รับผิดชอบ ตัวชี้วัด ในมิติที่ 2
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2553 วันพฤหัสบดีที่ 28 มกราคม 2553 เวลา น. ณ ห้องประชุม 3 ชั้น 3 สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน.
กลุ่มที่ ๓ เรื่อง โรคไม่ติดต่อ
แผนภาพ KEY PROCESS หน่วยงาน สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ ยุทธศาสตร์ที่1 พัฒนาระบบเทคโนโลยีทางการศึกษา เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการเรียนการสอน.
แผนภาพ KEY PROCESS หน่วยงาน. ยุทธศาสตร์ที่
การบริหารความเสี่ยง (Risk Management)
การนำเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินงานที่เป็นเลิศไปพัฒนาองค์กร
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
ตัวชี้วัด ปี 2548 คำรับรองการปฏิบัติราชการ มิติ 1 ประสิทธิผล
การบริหารความเสี่ยง สำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
การติดตามการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ ครั้งที่ 2
การดำเนินงานปรับปรุงข้อมูลทะเบียนเกษตรกร (จำแนกกิจกรรมการเกษตรรายแปลง)
แนวทางการดำเนินงานเกษตรกรปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข
แบบฟอร์ม - ERM I ดร.ทองม้วน นาเสงี่ยม ผู้เชี่ยวชาญ และที่ปรึกษา
กระบวนงาน การฝึกอบรม ประชุม สัมมนา.
ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ
การเตรียมจัดทำแผนปฏิบัติราชการปี 2553
ประจำเดือนมกราคม 2557 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ สำนักนโยบายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
การตรวจราชการและนิเทศงานฯ
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
และการนำไปใช้ประโยชน์
แนวทางการรายงาน ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
1 การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การติดตาม ประเมินผล กรมควบคุม โรค ปี 2553 วันที่ 2 มีนาคม 2553 เวลา – น. ณ ศูนย์ปฏิบัติการกรมควบคุมโรค อาคาร.
รายงานความก้าวหน้าการตรวจติดตามประเมิน
สำนักนโยบายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย มิติการพัฒนา องค์กร มิติประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ มิติประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ 1. จัดทำนโยบาย.
มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
พระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวก ในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สรุปการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ การกำหนดทิศทางบริหารความเสี่ยงของกรมสรรพสามิต ณ โรงแรมชลพฤกษ์ รีสอร์ท จ.นครนายก วันที่ 28-29 มีนาคม 2556 (สำนักงานสรรพสามิตภาคที่ 3, 4, 5, 6, 8 และ 9)

การบริหารความเสี่ยงเป็นส่วนหนึ่งของการควบคุมภายใน ตัวชี้วัดตามหลักเกณฑ์การประเมินผลฯ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2556 มิติด้านประสิทธิภาพ (ร้อยละ 5/20) สภ.และ สท ระดับความสำเร็จของการบริหารความเสี่ยง คู่มือการปฏิบัติงาน เรื่อง การบริหารความเสี่ยง เสนอโดย กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร วันที่ 12 มกราคม 2553

แนวทางการวิเคราะห์ความเสี่ยง ส่วนกลาง ภาค พื้นที่ -โครงการตามยุทธศาสตร์ - โครงการจัดเก็บภาษี โครงการป้องกันและปราบปรามผู้กระทำผิด - งานด้านการจัดเก็บภาษี - งานด้านป้องกันและปราบปราม - กระบวนการตรวจสอบและประเมินภาษี - กระบวนการบริหารการจัดเก็บภาษี (จดทะเบียน คืน/ยกเว้น/ลดหย่อนภาษี) - กระบวนการปราบปรามและดำเนินการกับผู้กระทำผิด - กระบวนการออกใบอนุญาต

เกณฑ์การให้คะแนนของ สภ. ขั้นตอนการดำเนินการ ระดับคะแนน วิเคราะห์ความเสี่ยงการปราบปราม ERM 1 1 กำหนดมาตรการจัดการความเสี่ยง ERM2 , ERM3 2 ดำเนินการตามแผนบริหารความเสี่ยง 3 รายงานผลความเสี่ยง 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 4 แผนการปราบปรามดำเนินการได้ตามเป้าหมาย 5 แผนการปราบปรามไม่สามารถดำเนินการได้ตามเป้าหมาย กรณีจัดทำแผนบริหารความเสี่ยงด้านการปราบปราม กรณี ไม่ จัดทำแผนบริหารความเสี่ยงด้านการปราบปราม

เกณฑ์การให้คะแนนของ สท. ขั้นตอนการดำเนินการ ระดับคะแนน วิเคราะห์ความเสี่ยงการปราบปราม หรือจัดเก็บภาษี ERM 1 1 กำหนดมาตรการจัดการความเสี่ยง ERM2 , ERM3 2 ดำเนินการตามแผนบริหารความเสี่ยง 3 รายงานผลความเสี่ยง 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 4 แผนการปราบปรามดำเนินการได้ตามเป้าหมาย 5 แผนการปราบปรามไม่สามารถดำเนินการได้ตามเป้าหมาย กรณีจัดทำแผนบริหารความเสี่ยงด้านการปราบปรามหรือจัดเก็บภาษี กรณี ไม่ จัดทำแผนบริหารความเสี่ยงด้านการปราบปรามหรือจัดเก็บภาษี

หนังสือสำนักแผนภาษี ที่ กค 0619/457 ลงวันที่ 27 มีนาคม 2556 เรื่อง แผนบริหาร ความเสี่ยงของกรมสรรพสามิต ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2556 หนังสือสภ.3 ที่ กค 0606/ว 738 ลงวันที่ 1 เมษายน 2556 เรื่อง แผนบริหารความ เสี่ยงของกรมสรรพสามิต ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2556 1. ทบทวนและวิเคราะห์ประเมินความเสี่ยงของ 2 งานและ 3 กระบวนการ ตามแบบฟอร์ม ERM 1 ส่ง สภ.3 ภายในวันที่ 11 เมษายน 2556 2. ถ้าไม่มีมาตรการบริหารความเสี่ยง ให้ส่งแบบฟอร์ม ERM 1

3. ถ้ามีมาตรการบริหารความเสี่ยง 3.1 ให้จัดทำมาตรการจัดการความเสี่ยงตามแบบฟอร์ม ERM 1 และ ERM 2 ส่ง สภ.3 ภายในวันที่ 11 เมษายน 2556 3.2 บันทึกข้อมูลเข้าสู่ระบบ http:// strategies.excise.go.th และรายงานผล ผ่านระบบภายในวันที่ 5 ของเดือนถัดไป โดยเริ่มจากวันที่ 5 พฤษภาคม 2556 เป็นต้นไป จนถึงสิ้นปีงบประมาณ 2556 4. มาตรการบริหารความเสี่ยงจะมีประโยชน์ในกรณีที่การดำเนินงานตาม โครงการของหน่วยงานไม่เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนด และดำเนินการ ขออุทธรณ์

ตารางโอกาสที่จะเกิดปัจจัยเสี่ยง (Likelihood: L) การประเมินความเสี่ยง ตารางโอกาสที่จะเกิดปัจจัยเสี่ยง (Likelihood: L) คะแนน ระดับโอกาส คำอธิบาย 1 น้อยที่สุด ไม่มีโอกาสที่จะเกิดขึ้นหรือมีเพียงเล็กน้อย (น้อยกว่า 20%) แทบไม่เกิดขึ้นหรือมีโอกาสเกิดน้อย หรือน้อยกว่า 10% 2 น้อย มีโอกาสเกิดขึ้นน้อยครั้ง (21% - 40%) 3 ปานกลาง มีโอกาสเกิดขึ้นบางครั้ง (41% - 60%) 4 สูง มีโอกาสเกิดขึ้นบ่อยครั้ง (61 % - 80%) 5 สูงมาก มีโอกาสเกิดขึ้นทุกครั้งหรือเกือบทุกครั้ง (มากกว่า 80%)

ตารางผลกระทบที่เกิดขึ้น (Impact: I) คะแนน ระดับผลกระทบ คำอธิบาย 1 น้อยที่สุด มีผลกระทบในการปฏิบัติงานหรือวัตถุประสงค์เพียงเล็กน้อย (น้อยกว่า 20%) 2 น้อย มีผลกระทบในการปฏิบัติงานหรือวัตถุประสงค์อยู่บ้าง (21% - 40%) 3 ปานกลาง มีผลกระทบในการปฏิบัติงานหรือวัตถุประสงค์พอสมควร (41% - 60%) 4 สูง มีผลกระทบในการปฏิบัติงานหรือวัตถุประสงค์ค่อนข้างรุนแรง (61 % - 80%) 5 สูงมาก มีผลกระทบในการปฏิบัติงานหรือวัตถุประสงค์เป็นอย่างยิ่ง (มากกว่า 80%)

ตารางการประเมินความเสี่ยง

ตารางประเมินผลการควบคุมที่มีในปัจจุบัน ผลการควบคุมที่มีในปัจจุบัน คำอธิบาย ดี การควบคุมในปัจจุบันเพียงพอแล้วสามารถป้องกันไม่ให้เกิดความเสี่ยงได้ ปานกลาง การควบคุมในปัจจุบันส่วนใหญ่สามารถป้องกันได้โดยยังมีบางจุดที่ยังไม่สามารถป้องกันได้ ไม่ดี การควบคุมในปัจจุบันยังไม่เพียงพอ ยังคงมีโอกาสที่จะมีความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นได้อยู่ตลอดเวลา

จบการนำเสนอ 18 เมษายน 2556