ยุทธศาสตร์ของไทยต่อการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจในระดับภูมิภาคและทวิภาคี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แผนนำทางส่งออกไทย: โอกาสใหม่ในความท้าทาย
Advertisements

โลกาภิวัตน์ การค้าเสรี และการจ้างงานหญิงชาย
กระชุ่มกระชวย ( ) ทศวรรษแห่งการเติบโตสูงสุด :
ชี้แจงการสัมมนากลุ่มย่อย
สมชัย จิตสุชน สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย 16 กุมภาพันธ์ 2550
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC)
ประเทศไทยได้ประโยชน์และเสียประโยชน์อะไรจาก (AFTA)
การค้าบริการ Trade In Services
สรุปประเด็นกลุ่ม 1 การเตรียมการและการ กำหนดท่าทีในการเจรจา ต่อรองในระดับสากล.
ดร.อัศนีย์ รัตนมาลัย โดย อดีต : ผู้อำนวยการสถาบันยุทธศาสตร์การค้า
การประเมินเหตุผลของ ความร่วมมือ ทางการเงินภายใน EA 1.
การเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับ AEC มุมมองภาครัฐ ( )
กระแสโลกาภิวัตน์กับบทบาทด้านการคลัง (9-1-55)
วิกฤต-โอกาส กับการพัฒนาอย่างยั่งยืน
Revision Problems.
สัดส่วนของการส่งออก/GDP
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
การเสวนาแลกเปลี่ยนประสบการณ์เรื่อง การจัดทำแผนกลยุทธ์ทางการเงิน
บทที่ 9 การแข่งขันในตลาดสินค้าเกษตรและอาหาร
อาจารย์มณทิพา ทับทิมอ่อน
ทำวิจัยนโยบายอย่างไรให้ได้ประโยชน์
ขั้นตอนที่ 4 การวิเคราะห์ความเสี่ยง สภาพแวดล้อมภายในและภายนอก
Free Trade Area Bilateral Agreement
การติดตาม และประเมินโครงการ.
ธุรกิจในโลกาภิวัตน์ Globalizing Business.
บรรยาย เรื่อง AEC Asean Economic Community
บรรยายองค์ความรู้เรื่อง AEC สมาคมอาเซียน
ความร่วมมือในการพัฒนาทุนมนุษย์ ในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง
โครงการพัฒนาเขตเศรษฐกิจสามฝ่ายอินโดนีเซีย มาเลเซีย และไทย Indonesia-Malaysia-Thailand Growth Triangle: IMT-GT.
การเตรียมการและการกำหนดท่าทีในการเจรจาต่อรองในระดับสากล
ยุทธศาสตร์ของไทยต่อการรวมกลุ่ม ในระดับภูมิภาคและทวิภาคี
1 ความเปลี่ยนแปลง ในภาคการเงินและในการ อภิบาลบริษัท ดร. อัมมาร สยามวาลา 9 ธันวาคม 2549.
บทที่ 3 การวางแผน การบริหารจัดการที่จะประสบความสำเร็จจะต้องมีหน้าที่สำคัญ 4 ประการ การจัดองค์การ การนำ การควบคุม.
FTA และผลกระทบต่อภาษีสรรพสามิต
กรอบความร่วมมือด้านผลิตภัณฑ์อาหารสำเร็จรูป
ปฏิญญาการศึกษา: รากฐานประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
ผลสรุปการแบ่งกลุ่มย่อยประชุมวิชาการเชิงปฏิบัติการ
การบริหารความเสี่ยง ประเภทความเสี่ยง ความเสี่ยง (RISK)
ขอบเขตความรับผิดชอบของรัฐบาลท้องถิ่น
ประเด็นนำเสนอ กลุ่ม Cairns - ความเป็นมา - สมาชิกในกลุ่ม
ข้อ Comment โครงการ Teenaqe Mother จากผู้ตรวจราชการ 1. การสร้างความเข้าใจ และประสานความ ร่วมมือกับองค์กรภาคี - define บทบาทให้ชัดเจน ตีบทให้แตก แจก บทให้ผู้เกี่ยวข้องและสร้างความเข้าใจ.
การบริหารจัดการทุนหมุนเวียน กลุ่มงานพัฒนาเงินนอกงบประมาณ
การพัฒนาอุตสาหกรรม ที่ “ยั่งยืน”. การพัฒนาอุตสาหกรรม ที่ “ยั่งยืน”
หลักการของทุนนิยม กำไร สูงสุด ราคาขายแพงสุด ต้นทุนต่ำสุด - ผูกขาดกีดกัน คู่แข่ง - ค่าแรงต่ำสุด - ภาษีต่ำสุด - ค่าเช่า ต่ำสุด.
นางสาวสุนันท์ อังเกิดโชค หัวหน้าสำนักงานจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ( ASEAN Economic Community: AEC )
การสื่อสารและ โทรคมนาคมของไทยกับ การเปิดเสรี นางสาวชุติมา บุณยประภัศร ที่ปรึกษาการพาณิชย์ กระทรวงพาณิชย์
เขตการค้าเสรี ไทย-อินเดีย
ยุทธศาสตร์ การจัดทำเขตการค้าเสรีของไทย
การเปิดประตูการค้าแห่งใหม่ ระหว่างไทยกับอินเดีย. ความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่าง ประเทศ Cambodia Vietnam Laos China India Malaysia Indonesia Singapore Brunei.
สถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลัง กุมภาพันธ์ 2549
แนวทางรองรับผลจาก ASEAN-CER (ASEAN-Australia-New Zealand FTA)
เคลื่อนทัพส่งออก : มุมมองใหม่ โดย ดร. ณรงค์ชัย อัครเศรณี
1 วิจารณ์ผลการศึกษา โครงการศึกษาผลกระทบ จากการเปิดเสรีทางการค้า เพื่อเสนอแนะมาตรการ ช่วยเหลือผู้ได้รับผลกระทบ รศ. ดร. ชยันต์ ตันติวัสดาการ คณะเศรษฐศาสตร์
บทที่ 8 นโยบายการค้าระหว่างประเทศ
การบริหารและกระบวนการวางแผน
1 การพัฒนาความร่วมมือทางการเงิน ในภูมิภาคและโครงสร้างระเบียบ การเงินของโลก เพื่อลดความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะ วิกฤติทางการเงิน ฉลองภพ สุสังกร์กาญจน์ และ ปกรณ์
สรุปการประชุมระดมความคิด
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
ธุรกิจประมงและอุตสาหกรรมต่อเนื่อง
 โลกาภิวัฒน์ (Globalization) มาจากคำว่า โลกา + อภิ + วฒฺน หากแปลตามศัพท์ จะหมายความว่า พื้นแผ่นดินที่มีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว Global( ทั่วทั้งโลก.
บทบาทของข้อมูลการตลาด
ความร่วมมือไทย-ลาว ในเรื่อง Contract Farming (CF)
Change Management.
การจัดการส่วนประสมการตลาดในช่องทางการตลาด
ปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร์
ครูจงกล กลาง ชล 1. 2 รู้และเข้าใจ เกี่ยวกับกิจกรรม การผลิตที่ เกี่ยวข้องกับการ แลกเปลี่ยนหรือ ซื้อขาย.
แผนที่ยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ
หน่วยที่ ๗ แนวโน้มสังคมไทย และแนวทางเลือก.
เรื่อง ประเทศไทยกับประชาคมอาเซียน การประชุมวิชาการ ปขมท ประจำปี 2555
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ยุทธศาสตร์ของไทยต่อการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจในระดับภูมิภาคและทวิภาคี

การรวมกลุ่มภูมิภาคและทวิภาคี

กรณีประเทศไทย +1 +3 Singapore Philippines Indonesia Brunei Malaysia Viet Nam Thailand Myanmar Cambodia Laos Yunan China Japan Korea ASEAN ASEM APEC EU New Zealand Australia Russia Chile Papua New Guinea Peru Mexico Canada USA India Bangladesh Sri Lanka BIMST-EC GMS AFTA-CER Pakistan Bahrain +1 +3

ทำไมการเจรจาภูมิภาคนิยมและทวิภาคีจึงแพร่หลาย ความไม่มั่นใจในความสำเร็จของการเจรจาระดับพหุภาคี มีความคิดว่าเจรจาวงเล็กดีกว่าวงใหญ่ ความสำเร็จของสหภาพยุโรป ต้องการแสดงจุดยืนการค้าเสรี เหตุผลทางการเมือง เหตุผลทางธุรกิจสมัยใหม่ที่อาศัย Logistics

ทำอย่างไรให้ประโยชน์มาก ต้นทุนน้อย (2) วิธีการ กลุ่มที่เข้าร่วมควรมีขนาดใหญ่ หลากหลาย และเป็นประเทศที่ไปเข้ากลุ่มกับคู่แข่ง ความแตกต่างภาษีกับประเทศนอกกลุ่มน้อย สาขาที่เปิดเสรีครอบคลุมกว้าง ครอบคลุมมากกว่าเรื่องภาษี มีกลไกที่จะให้สมาชิกดำเนินการตามความตกลง กรอบการเจรจามีกรอบใกล้เคียงกัน

หลักยุทธศาสตร์สำหรับประเทศไทย อาจมองได้ 4 แนวทาง 1. เป็นวิธีการไปสู่การเปิดเสรีในระดับพหุภาคี 2. เป็นเครื่องมือในการเพิ่มอำนาจต่อรองในกรอบที่ใหญ่ขึ้น 3. เป็นเครื่องมือแสวงหาสิทธิพิเศษเหนือคู่แข่ง 4. เป็นการป้องกันการถูกโดดเดี่ยว โดยยึดหลักยุทธศาสตร์ข้อ 1 และ 2 เป็นสำคัญ

หลักยุทธศาสตร์สำหรับประเทศไทย (2) เน้นการเจรจากับประเทศเศรษฐกิจใหญ่และหลากหลาย ลดความซ้ำซ้อนของการเจรจา เพื่อเป็นการลดต้นทุน อาจทำได้โดย 1. มีกรอบเดียวที่เป็นมาตรฐานในการเจรจา เช่น ใช้กรอบ AFTA-ACCESS เป็นหลักในการเจรจากรอบข้อตกลงอื่นๆ 2. ผลักดันความร่วมมือ ASEAN+3 เป็นเขตการค้าเสรี ตามมาด้วย APEC เนื่องจากหลายประเทศในกลุ่มมีความตกลง FTA ระหว่างกัน

หลักยุทธศาสตร์สำหรับประเทศไทย (3) มีมาตรการรองรับผลกระทบจากการรวมกลุ่ม มีโครงสร้างภาษี (MFN) ที่สอดคล้องระหว่าง สินค้าต้นน้ำและปลายน้ำ ในและนอกกลุ่ม มีกรอบเวลาที่แน่นอนชัดเจน มีการช่วยเหลืออุตสาหกรรมที่ได้รับผลลบที่ไม่ บิดเบือนกลไกตลาด

การรวมกลุ่มประเทศผู้ส่งออกสินค้าเกษตร

ความร่วมมือในภูมิภาคทางด้านสินค้าเกษตร ระบบการค้าโลกสร้างปัญหาให้แก่การค้าสินค้า เกษตรของประเทศกำลังพัฒนา วิเคราะห์รูปแบบความร่วมมือในภูมิภาคทางสินค้าเกษตรว่าควรมีรูปแบบใด ใช้กรณียางพาราและข้าวของไทยเป็นตัวอย่าง

ความร่วมมือในภูมิภาคทางด้านสินค้าเกษตร (2) ข้อสรุป ความร่วมมือทางด้านสินค้าจะได้รับความสำเร็จได้ยาก ความร่วมมือหรือนโยบายเพื่อทำให้ราคาสินค้าเกษตรสูงขึ้นจะมีประโยชน์น้อยกว่าการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต และสร้าง value chain สู่การแปรรูป

ความร่วมมือควรมีเป้าหมายเพื่อ ข้อสรุป (2) ความร่วมมือควรมีเป้าหมายเพื่อ ให้ลดการอุดหนุนสินค้าเกษตรในกรอบ WTO สร้างความสามารถทาง SPS เพื่อค้าขายระหว่างกันได้สะดวกขึ้น ลด NTBs อื่นๆ ที่มี

การประเมินความร่วมมือ ทางการเงินภายใน EA มีความพยายามให้มีความร่วมมือ ทางการเงิน ในภูมิภาคหลังเกิดวิกฤติทางการเงินในเอเชียและในหลายประเทศในโลก

รูปแบบของความร่วมมือทางการเงิน ภายในกลุ่ม EA - ติดตามสถานการณ์อย่างใกล้ชิด - ระบบเตือนภัยล่วงหน้า - กู้เงินระยะสั้นระหว่างธนาคารกลางด้วยกัน - ร่วมมือทางด้านนโยบายเศรษฐกิจส่วนรวม - ร่วมมือทางด้านอัตราแลกเปลี่ยน - พัฒนาตลาดทุนระยะยาวของภูมิภาค - จัดตั้ง AMF

ป้องกันตนเองจากความเสี่ยงและความผันผวน จุดประสงค์ ป้องกันตนเองจากความเสี่ยงและความผันผวน พัฒนาเศรษฐกิจในภูมิภาคอย่างมีเสถียรภาพ ทดแทนการพึ่ง IMF

เหตุผลที่สำคัญ 4 ประการ 1. เลี่ยงการเกิดวิกฤติเศรษฐกิจอีกครั้ง 2. แม้เกิดขึ้นอีกก็สามารถต่อสู้ได้ดี 3. เพิ่มอิทธิพลที่จะคุมสภาพแวดล้อมทางการเงิน 4. สนับสนุนการรวมตัวทางเศรษฐกิจของภูมิภาค EA

การอภิปรายของกลุ่ม หลังวิกฤติมีความร่วมมือใกล้ชิดขึ้น โดยมีช่องทาง คือการประชุมรัฐมนตรีการคลัง ASEAN และ APEC ความร่วมมือที่เกิดขึ้นแล้วผ่านการประชุมรัฐมนตรีคลังคือ การติดตามสถานการณ์อย่างใกล้ชิด การมีระบบเตือนภัยล่วงหน้า การร่วมมือทางด้านนโยบายเศรษฐกิจส่วนรวม

การอภิปรายของกลุ่ม (2) การกู้เงินระยะสั้นระหว่างธนาคารกลางด้วยกันโดยการทำ SWAP มีแล้วเช่นกัน มีปัญหาว่าบางประเทศต้องให้เป็นตามเกณฑ์ IMF การจัดตั้ง AMF คงไม่เกิดขึ้นในระยะสั้น การพัฒนาตลาดทุนระยะยาวของภูมิภาค ควรส่งเสริม เพราะสภาพคล่องในภูมิภาคมีมาก ลดการพึ่งพิงตลาด NY, London

การอภิปรายของกลุ่ม (3) การเกิด Asian Bond มีความเป็นไปได้สูงและมีประโยชน์ ภูมิภาคควรมีการใช้เงินสกุลภูมิภาคมากขึ้น และมีการร่วมมือทางด้านอัตราแลกเปลี่ยน โดยระยะยาวอาจพัฒนาเป็นเงินสกุลเอเชีย