การค้าเสรีระหว่างประเทศ การปรับตัวของผู้บริหาร และ รูปแบบขององค์กรไทยในอนาคต ดร. นิลสุวรรณ ลีลารัศมี ประธานคณะกรรมการอุปสรรคทางการค้าที่มิใช่ภาษี และ กฏว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้า สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และคณะกรรมการร่วม WTO GB718 Futurology
Liberalization (Zero Tariff) Globalization (No Tariff & Free Trade) นโยบายด้านเศรษฐกิจและภาษีนำเข้าของประเทศ Protectionism (Tariff Barrier) Regionalization (Lower Tariff) Liberalization (Zero Tariff) Non-Tariff Barrier & Technical Barrier to Trade Globalization (No Tariff & Free Trade) Harmonization of Regulations for Trade and Facilitation
อุตสาหกรรมไทย จุดแข็ง (Strength) W O T อุตสาหกรรมไทย จุดแข็ง (Strength) ผลิตตามแบบได้ดี ฝีมือประณีต แรงงานฝึกง่าย ผู้ประกอบการมีทักษะและประสบการณ์ มีความยืดหยุ่น เต็มใจรับงานปริมาณน้อย มีกำลังการผลิตคงเหลือ ขยายอีกได้ง่ายและเร็ว มีความสามารถเลียนแบบและประยุกต์ได้ดี มี Economy of Scale อย่างธุรกิจขนาดใหญ่
อุตสาหกรรมไทย: จุดอ่อน 1 (Weakness) O T อุตสาหกรรมไทย: จุดอ่อน 1 (Weakness) คนไทยนิยมสินค้าที่นำเข้าจากต่างประเทศ มีเทคโนโลยีของตนเองต่ำ ยังขาดการวิจัยพัฒนา แรงงานมีพื้นฐานความรู้ต่ำ รับเทคโนโลยีได้น้อย ขาดการพัฒนาต่อเนื่อง ต้องพึ่งพาการนำเข้าวัตถุดิบและเคมีภัณฑ์
อุตสาหกรรมไทย: จุดอ่อน 2 (Weakness) O T อุตสาหกรรมไทย: จุดอ่อน 2 (Weakness) ต้นทุนการบริหารจัดการสูง ขาดมืออาชีพ และขาดความรู้ในการใช้ IT และ e-Commerce ขาดความสามารถในการหาข้อมูลการตลาด และการจัดฐานข้อมูลก่อนตัดสินใจเข้าสู่ตลาด มีข้อจำกัดด้านภาษา เจรจาต่อรอง และความรู้ในกฎกติกาของเวทีการค้าระหว่างประเทศ ส่วนใหญ่ยังแข่งขันด้านราคา มากกว่าคุณภาพ
อุตสาหกรรมไทย : โอกาส (Opportunity) S W O T อุตสาหกรรมไทย : โอกาส (Opportunity) ได้ขยายตลาดจากการเปิดเสรีทางการค้าในประเทศอาเซียน และในตลาดโลกอีกมาก ได้เปรียบด้านที่ตั้งภูมิศาสตร์ของประเทศไทย ผู้บริโภคต้องการสินค้าแบบ Customization มากขึ้น ประเทศไทยมีวัตถุดิบต้นทางจากธรรมชาติที่อาจนำมาแปรรูปเพิ่มมูลค่าได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง พืชเกษตรและสมุนไพร มีนโยบายสนับสนุนการใช้สินค้าที่ผลิตในประเทศ
อุตสาหกรรมไทย : ปัญหา-สิ่งท้าทาย 1 (Threat) S W O T อุตสาหกรรมไทย : ปัญหา-สิ่งท้าทาย 1 (Threat) ไม่ได้รับการสนับสนุนจากรัฐอย่างเป็นรูปธรรม การจัดซื้อในส่วนราชการถูกผูกขาดด้วยระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 ประเทศผู้ซื้อมีมาตรการกีดกันทางการค้าที่ไม่ใช่ภาษี (NTB) : ให้รับภาระภาษีสิ่งแวดล้อมเมื่อทิ้งสิ้นค้าใช้แล้ว Global Source & Investment ทำให้มีคู่แข่งเคลื่อนย้ายการลงทุนไปประเทศที่มีค่าแรงต่ำกว่า ขาดผู้เชี่ยวชาญให้คำแนะนำเกี่ยวกับการใช้เครื่องมือและเทคโนโลยีที่ทันสมัย
อุตสาหกรรมไทย : ปัญหา-สิ่งท้าทาย 2 (Threat) S W O T อุตสาหกรรมไทย : ปัญหา-สิ่งท้าทาย 2 (Threat) ขาดแหล่งบริการวิเคราะห์ ทดสอบ และสอบเทียบ (มาตรวิทยา) ที่ได้มาตรฐานสากลในประเทศ มีเครือข่ายผู้ค้ารายใหญ่ในต่างประเทศแพร่ขยายเข้ามาในประเทศ ประเทศที่มีค่าแรงต่ำกว่า กำลังพัฒนาขึ้นมาเป็นคู่แข่งอย่างรวดเร็ว ขาดความพร้อมในการตอบโต้ ข้อกล่าวหา และเจรจาต่อรองด้านกฎระเบียบทางการค้าอย่างมาก
อุตสาหกรรมไทย : วิสัยทัศน์ วิสัยทัศน์ที่มีความสำคัญสูง ( 5 ปี ) ภาพลักษณ์ของสินค้าไทยเป็นที่ยอมรับของตลาดทั้งในและต่างประเทศ ไทยเป็นศูนย์กลางผลิตสินค้าใน ASEAN ไทยส่งออกสินค้าเป็นมูลค่าเพิ่มขึ้น (2 เท่าของยอดส่งออกปี 2543) ได้ในปี 2549 เพิ่มปริมาณการผลิตสินค้าโดยรวมในประเทศเพื่อทดแทนการนำเข้า (ได้อีกร้อยละ 50)
อุตสาหกรรมไทย : วิสัยทัศน์ วิสัยทัศน์ที่มีความสำคัญรองลงมา ( 5 ปี ) สามารถผลิตวัตถุดิบบางตัวที่เป็นส่วนประกอบสำคัญและมีศักยภาพได้ในเชิงพาณิชย์แทนการนำเข้า ผลิตภัณฑ์ไทยมี Brand Name เป็นที่ยอมรับใน ASEAN และประเทศเป้าหมาย ไทยเป็นแหล่งผลิตสินค้า โดยใช้กรรมวิธีการผลิตที่ทันสมัยแห่งหนึ่งของเอเชีย หรือ ASEAN
พร้อม ไม่พร้อม End Part 1