“การพัฒนากลุ่มเกษตรกรที่ร่วมโครงการฯ ให้เกิดความเข้มแข็ง” “การพัฒนากลุ่มเกษตรกรที่ร่วมโครงการฯ ให้เกิดความเข้มแข็ง” เกสศิณีย์ แท่นนิล นักวิชาการประมงชำนาญการ ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงน้ำจืดเพชรบุรี
กลุ่มคืออะไร กลุ่ม (Group) เป็นหน่วยของสังคม (Social unit) ที่เกิด จากการรวมตัวกันของคน 2 คน หรือมากกว่านั้นที่มีบุคลิกภาพคล้ายกัน หรือต้องการความสำเร็จทางสังคม หรือการบรรลุเป้าหมายในการทำงานอย่างเดียวกัน
ขั้นตอนของการพัฒนาการของการเกิดกลุ่ม Forming Storming Norming Performing
คุณลักษณะของกลุ่ม * บรรทัดฐาน (Norms) * สถานภาพของคนในกลุ่ม (Status) * บทบาท (Roles) * บรรทัดฐาน (Norms) * สถานภาพของคนในกลุ่ม (Status) * ความผูกพันของคนในกลุ่ม (Cohesiveness) * ขนาดของกลุ่ม (Group size)
ลักษณะของกลุ่มเกษตรกร กลุ่มสังคมแบบทุติยภูมิ ซึ่งสมาชิกมีความผูกพันที่มิใช่เป็นการส่วนตัว มีความสัมพันธ์กันเป็นไปตามระเบียบ กฎเกณฑ์มีแบบแผน มีการแบ่งงานกันทำตามความสามารถเพื่อประสิทธิภาพของงาน มีการมอบหมายอำนาจ มีสายการติดต่องานเป็นไปตามลำดับขั้นตอน ไม่ก้าวก่าย มีการประสานงานเพื่อผลงานมีประสิทธิภาพ กลุ่มสมัครใจ กลุ่มที่มีการจัดระเบียบ มีระเบียบกฎเกณฑ์กำหนดหน้าที่และสิทธิของสมาชิก
ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องในการพัฒนากลุ่ม ทฤษฎีความขัดแย้ง : ความขัดแย้งมีความสัมพันธ์กับทัศนคติของคนและส่งผลต่อพฤติกรรม และถูกมองว่าเป็นสิ่งไม่ดี แต่ในความเป็นจริง เป็นตัวกระตุ้นให้เกิดวิธีแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ จึงควรพิจารณาความขัดแย้งทั้งเชิงบวกและเชิงลบ
การแก้ปัญหาความขัดแย้ง (Conflict Resolution) การแก้ปัญหาความขัดแย้งทำได้โดย 1. การเผชิญหน้าหรือหันหน้าเข้าหากัน (Confrontative) 2. การร่วมมือกัน (Collaboration) 3. การประนีประนอม (compromise) 4. การปรับเปลี่ยนโครงสร้าง (Altering the Organizational structure)
ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องในการพัฒนากลุ่ม การสร้างแรงจูงใจ ซึ่งเป็นพลังจากภายในตัวคนที่กระตุ้นให้คนใช้ความพยายาม ยืนหยัดและกำหนดทิศทางเชิงพฤติกรรมอย่างใดอย่างหนึ่ง แหล่งของแรงจูงใจ มีทั้งจากภายในและภายนอก -ภายใน : เป็นพลังกระตุ้นที่คนต้องการได้รับความพอใจจากความสำเร็จอันเป็นผลจากการกระทำ -ภายนอก : เป็นพลังกระตุ้นพฤติกรรมของคนเพื่อให้กระทำในสิ่งต่างๆ เพื่อให้ได้มาซึ่งรางวัลทางวัตถุหรือสังคม
ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องในการพัฒนากลุ่ม การกำหนดเป้าหมาย : เป้าหมายต่างๆ ที่บุคคลากรมีความมุ่งมั่นเพื่อให้บรรลุผลสำเร็จถือเป็นตัวกำหนดแรงจูงใจและผลงานที่ดีที่สุด ซึ่งประเด็นสำคัญในการกำหนดเป้าหมายต้องเป็นเป้าหมายที่ชัดเจนและท้าทาย
ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องในการพัฒนากลุ่ม ทฤษฎีการสื่อสาร : การคัดเลือกประเด็น การกลั่นกรองข่าวสาร เกี่ยวกับพฤติกรรม ผู้รับสาร ตัวสาร ผู้ส่งสาร ผลของสาร องค์ประกอบของการสื่อสารทั้งหมด
กรณีศึกษา : จังหวัดเพชรบุรี กลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงปลานิลท่าแร้งออก ประกอบด้วยสมาชิกจำนวน 21 ราย มีนายสมนึก ทองอินทร์ เป็นประธานกลุ่ม กลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงปลานิลท่าแร้ง ประกอบด้วยสมาชิกจำนวน 22 ราย มีนายองุ่น สุขพร้อม เป็นประธานกลุ่ม
กรณีศึกษา : จังหวัดเพชรบุรี โครงการ Certification for Small Scale Aquaculture in Thailand ภายใต้ความร่วมมือ FAO/Thailand วัตถุประสงค์ : เตรียมความพร้อมสำหรับการรับรองฟาร์มสัตว์น้ำ แบบกลุ่ม ระยะเวลา : พ.ศ. 2553-2554
กิจกรรมกลุ่ม สำรวจข้อมูลเบื้องต้นของสมาชิกทั้ง 2 กลุ่ม จัดตั้งกลุ่มเกษตรกร จัดทำคู่มือฟาร์มและคู่มือควบคุมภายใน จัดอบรมให้ความรู้เรื่องมาตรฐานฟาร์ม(จีเอพี) จัดเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่มาตรฐานจีเอพี ตรวจประเมินภายใน (internal audit)
Local staff
18
คำถาม ?
ใส่ใจในทุกขั้นตอน...... สำเร็จ ขอบคุณ หมายเหตุ : หลีกเลี่ยงการคำนวณต้นทุน (เงินค่าจ้าง) ในการทำงาน