แนวคิดและทฤษฎีทางจริยธรรม บทที่ 2 แนวคิดและทฤษฎีทางจริยธรรม Ethics2 ผศ.ถนอมศรี ปรารถนาดี
ทฤษฎีทางจริยธรรม 1. กลุ่มทฤษฎีที่เน้นอิทธิพลของสังคม 1. กลุ่มทฤษฎีที่เน้นอิทธิพลของสังคม 2. กลุ่มทฤษฎีที่เน้นการเรียนรู้ของบุคคล 3. กลุ่มทฤษฎีที่เน้นความสำคัญของพัฒนาการ ลักษณะที่ส่งเสริมจริยธรรม Ethics2 ผศ.ถนอมศรี ปรารถนาดี
กลุ่มทฤษฎีที่เน้นอิทธิพลของสังคม เริ่มมาจากความคิดและประสบการณ์ของนักสังคมวิทยา สังคมโดยส่วนรวมและตัวแทนทางสังคม อันได้แก่ พ่อแม่ ครู เพื่อน มีอิทธิพลต่อการเกิด และ พัฒนาจริยธรรมของบุคคลโดยกระบวนการต่าง ๆ เช่น การอบเลี้ยงดู งานวิจัยยังพบลักษณะที่เด่นชัด ได้แก่ การยึดหลักภายในตน ความรู้สึกผิด เหตุผลเชิงจริยธรรม และลักษณะทางจิตใจส่วนด้านพฤติกรรม ได้แก่ ความเอื้อเฟื้อ การมีวินัยทางสังคม และความประพฤติที่เหมาะสม เป็นต้น Ethics2 ผศ.ถนอมศรี ปรารถนาดี
กลุ่มทฤษฎีที่เน้นการเรียนรู้ของบุคคล 1. ทฤษฎีการเรียนรู้ชนิดวางเงื่อนไขแบบคลาสสิก 2. ทฤษฎีการเรียนรู้ที่ใช้ในการวางเงื่อนไขเป็นเครื่องมือและการ วางเงื่อนไขแบบลงมือกระทำ 2.1 การเรียนรู้ที่ใช้การวางเงื่อนไขเป็นเครื่องมือ 2.2 การวางเงื่อนไขแบบลงมือกระทำ 3. ทฤษฎีการเรียนรู้แบบของการรับรู้ 4. ทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคม Ethics2 ผศ.ถนอมศรี ปรารถนาดี
ทฤษฎีที่เน้นความสำคัญของพัฒนาการลักษณะ ที่ส่งเสริมจริยธรรม เด็กมีพัฒนาการทางจริยธรรมแบ่งออกเป็น 3 ข้อคือ ขั้นที่หนึ่ง ขั้นก่อนจริยธรรม เป็นขั้นที่เด็กมีอายุตั้งแต่ แรกเกิดจนถึงสองขวบ (0-2 ปี) ขั้นที่สอง เป็นขั้นยึดคำสั่งคือเด้กจะเชื่อฟังและเชื่อถือ เอาคำสั่ง ของผู้ใหญ่เป็นหลัก ขั้นที่สองนี้เด็กจะมีอายุระหว่าง 2-8 ปี ขั้นที่สาม คือ ยึดหลักแห่งตน เด็กจะคลายความเกรงกลัวอำนาจ จากภายนอกและจะค่อย ๆ เกิดหลักภายในจิตใจของ เด็กขึ้นเอง Ethics2 ผศ.ถนอมศรี ปรารถนาดี
พัฒนาการทางสติปัญญาแบ่งออกเป็น 4 ขั้น พัฒนาการทางสติปัญญาแบ่งออกเป็น 4 ขั้น 1. การเรียนรู้ด้วยประสาทสัมผัสและการเคลื่อนไหว (The period of Sensory-Motor Intelligence) เด็กอายุใน วัยแรกเกิดถึง 2 ปี 2. ขั้นของการคิดก่อนการปฏิบัติ (The period of Proportional Thought) เด็กมีอายุ 2-7 ปี 3. ขั้นของการคิดแบบรูปธรรม (The Period of Proportional) เด็กมีอายุระหว่าง 2 - 7 ปี 4. ขั้นปฏิบัติการเชิงระบบ (Formal Operation) เด็กมีอายุ ระหว่าง 11-15 ปี Ethics2 ผศ.ถนอมศรี ปรารถนาดี
ทางจริยธรรมของโคลเบอร์ก ทฤษฎีพัฒนาการ ทางจริยธรรมของโคลเบอร์ก Ethics2 ผศ.ถนอมศรี ปรารถนาดี
ขั้นการใช้เหตุผลเชิงจริยธรรม ระดับของจริยธรรม ขั้นที่ 1 หลักการหลบหลีกการลงโทษ ( 2 - 7 ปี ) 1. ระดับก่อนกฎเกณฑ์ ( 2 - 10 ปี ) ขั้นที่ 2 หลักการแสวงหารางวัล ( 7 - 10 ปี ) ขั้นที่ 3 หลักการทำตามที่ผู้อื่นเห็นชอบ ( 10 - 13 ปี ) 2. ระดับกฎเกณฑ์ ( 10 - 16 ปี ) ขั้นที่ 4 หลักการทำตามหน้าที่ของสังคม ( 13 - 16 ปี ) ขั้นที่ 5 หลักการทำตามคำมั่นสัญญา ( 16 ปีขึ้นไป ) 3. ระดับเหนือกฎเกณฑ์ ( 16 ปีขึ้นไป ) ขั้นที่ 6 หลักการยึดอุดมคติสามาล ( ผู้ใหญ่ ) Ethics2 ผศ.ถนอมศรี ปรารถนาดี
ทฤษฎีที่ยึดคำสอนของพุทธศาสนา เป็นพื้นฐานความคิด จริยธรรมในพุทธศาสนาแบ่งได้เป็น 2 ระดับ 1. ระดับโลกียธรรม 2. ระดับโลตุรธรรม Ethics2 ผศ.ถนอมศรี ปรารถนาดี
จริยธรรมตามแนวพุทธศาสนา เกิดขึ้นได้อย่างไร 1. เกิดจากการสอนหรือชี้แนะของผู้อื่น 2. เกิดจากการคิดค้นคว้าพิจารณาโดยตนเอง Ethics2 ผศ.ถนอมศรี ปรารถนาดี
หลักและวิธีพัฒนาจริยธรรมตามแนว พุทธศาสนาเป็นอย่างไร หลักและวิธีพัฒนาจริยธรรมตามแนว พุทธศาสนาเป็นอย่างไร หลักคำสอนที่สำคัญในพุทธศาสนา คือ หลัก ศีล - สมาธิ - ปัญญา เป็นวิธีการปฏิบัติเพื่อบรรลุสู่ความมีจริยธรรม แต่เนื้อหาสาระที่เป็นเป้าของการพิจารณาเมื่อถึงขั้นปัญญาก็คือกลักธรรมต่าง ๆ ในพุทธศาสนามีหลักธรรมหรือคำสอนที่สำคัญพอนำมากล่าวได้คือ 1. หลักธรรม 2. หลักอนัตตา 3. หลักอริยสัจ Ethics2 ผศ.ถนอมศรี ปรารถนาดี
รูปที่ 2-1 ปฏิจจสมุปทาน (ที่มา : สาโรช บัวศรี) อุปายาสะ, โสภะ ปริเทวะ, ทุกข์ อวิชชา โทมนัส,ชรา ชาติ สังขาร 1 12 2 ภพ 11 วิญญาณ 3 10 4 นามรูป 9 อุปทาน 5 8 7 6 สฬายตนะ ตัณหา ผัสสะ เวทนา รูปที่ 2-1 ปฏิจจสมุปทาน (ที่มา : สาโรช บัวศรี) Ethics2 ผศ.ถนอมศรี ปรารถนาดี
ทฤษฎีที่เน้นความสำคัญของลักษณะที่ส่งเสริม จริยธรรม ทฤษฎี ทฤษฎีที่เน้นความสำคัญของลักษณะที่ส่งเสริม จริยธรรม ทฤษฎี ลักษณะทางจริยธรรม หลักการพัฒนาจริยธรรม ทฤษฎีอิทธิพลของสังคม ทฤษฎีการเรียนรู้ของบุคคล จิตลักษณะและพฤติกรรมต่าง ๆ ของบุคคล การที่ความรู้ในค่านิยม คุณธรรม การเกิดอารมณ์ ความรู้สึก และพฤติกรรมทางจริยธรรม การตัดสินใจโดยใช้หลักการที่เหมาะสม (เหตุผลเชิงจริยธรรม) การอบรมเลี้ยงดู อิทธิพลของเพื่อน สื่อมวลชน พ่อแม่ ตัวแบบและการเลียนแบบ การเสริมแรง หลักการ เชื่อมโยง การเรียนแบบพฤติกรรมและการหยั่งเห็น หลักการทำให้เกิดความขัดแย้งในความคิดแล้วในพบเหตุผลใหม่ในขั้นที่สูงกว่า Ethics2 ผศ.ถนอมศรี ปรารถนาดี