สิ่งที่น่ารู้ในการนำองค์กรสู่ความยั่งยืน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
CoPsป้องกันและดูแลแผลกดทับ
Advertisements

มุ่งพัฒนาสู่การเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงในสถานศึกษา
(District Health System)
การฝึกอบรมหลักสูตร การบริหารจัดการโครงการ และการติดตามประเมินผล
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
ห้องเรียนแห่งการเปลี่ยนแปลง
ความสำคัญและการนำสู่การปฏิบัติ
กระทำหน้าที่ตามเป้าหมายขององค์กรอย่างสมบูรณ์
“แนวปฏิบัติจัดการความรู้” (The Practices of Knowledge Management)
บทเรียนบาง ประการ จาก ประสบการณ์ การส่งเสริมการ เรียนรู้ และจัดการ ความรู้
การบริหารคุณภาพองค์กร
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
มีหน้าที่เชื่อมโยงผู้คน/หน่วยงานเข้าหากัน
Knowledge Management (KM)
LEARNING ORGANIZATION
แบบฟอร์มยืนยัน แผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
วิสัยทัศน์กรมส่งเสริมสหกรณ์ (Vision) ปี
กรอบแนวคิด การพัฒนากองบริการการศึกษา.
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
ห้องเรียนแห่งการเปลี่ยนแปลง
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
เรียนรู้ จาก VDO ของ KMI
บันทึกจากการฟังการบรรยายเรื่อง
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน (รนสช.)
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม ค่านิยมในการทำงานราชการยุคใหม่
การทำงานเชิงกระบวนการในชุมชน
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
ถอดรหัส Nanoka : ภาวะผู้นำและการประเมินแนวใหม่
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็น มหาวิทยาลัยชั้นนำ ในระดับภูมิภาคเอเชีย ทำหน้าที่ผลิตบัณฑิต บริการวิชาการ และ ทำนุบำรุงวัฒนธรรม โดยมีการวิจัยเป็นฐาน วิสัยทัศน์
การจัดการความรู้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
หัวข้อวิชา การเพิ่มศักยภาพในการเป็นผู้นำ และการนำเสนอข้อมูล
โครงการพัฒนาคุณภาพระบบบริการโรงพยาบาล
ผลการดำเนินงานองค์กร (Performance Measurement)
พิธีลงนามคำรับรองการปฏิบัติราชการหน่วยงานภายใน
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
1 การจับความรู้ที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม ของทีมทำงานรวมทั้งทบทวนและสะท้อน บทเรียนนำไปสู่การวางแผนต่อไป การให้ข้อมูลป้อนกลับอย่างเป็นระบบกับ ทีมงานในเรื่องผลการปฏิบัติ
สรุปประเด็นการประชุมสัมมนากลุ่มย่อย
การตรวจรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) 1.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
คน Man ผู้บริหาร บุคลากรของทุกระดับ.
(District Health System)
วิทยาศาสตร์ในสังคมกับการจัดการความรู้
โดย ดร. ประพนธ์ ผาสุขยืด สถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม
ปัจจัยของการสร้างนวัตกรรม
ประโยชน์ต่อส่วนราชการ
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
ขอต้อนรับทุก ท่าน WELCOME ! No 1. การบรรยายความรู้ มุมมองใหม่ กับการทำงานส่งเสริมเคหกิจ เกษตร วันพุธที่ ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๕๔ ระหว่างเวลา ๑๕. ๐๐ – ๑๖. ๐๐ น.
Good Practice (for Quality Improvement)
Good Practice (for Quality Improvement)
การเรียนรู้ของทีม Team Learning
แนวทางการพัฒนาคลินิก DPAC
ดร.พรธิดา วิเศษศิลปานนท์
การธำรงรักษาระบบคุณภาพหลังการรับรอง
Service Profile สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล 27 สิงหาคม 2551
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
ทีม นำ “ การนำที่มั่นคง และยั่งยืน ”. “ บางครั้ง การยอมถอยซักก้าว เราจะเห็นทะเลที่ใหญ่ และท้องฟ้าที่สดใสกว่าเดิม ”
จะเริ่มอย่างไร ? จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบสุขภาพระดับอำเภอ อยู่ที่การกำหนดค่ากลางของความสำเร็จของโครงการสุขภาพระดับเขต เพื่อส่งมอบให้จังหวัดนำเข้าสู่กระบวนการ(1)
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
การวางแผนยุทธศาสตร์.
แนวทางการพัฒนาเพื่อธำรงบันไดขั้นที่ 2 สู่ HAการสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) พฤศจิกายน 2557.
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
ปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร์
จุดเน้น ด้านการบริหารจัดการ
การเริ่มต้นธุรกิจ SMEs
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สิ่งที่น่ารู้ในการนำองค์กรสู่ความยั่งยืน มุมมองการถอดบทเรียน สิ่งที่น่ารู้ในการนำองค์กรสู่ความยั่งยืน จตุพร วิศิษฏ์โชติอังกูร

ถอดบทเรียน : ผลผลึก-สิ่งใหม่ การนำเสนอ การถอดบทเรียน ? มุมมองผ่านสายตาคนนอกระบบ การก้าวต่อ ปัจจัยแห่งความสำเร็จ

ถอดบทเรียน “”ไม่ควรผิดพลาดเป็นครั้งที่สอง ในสถานการณ์เดิม” ทบทวนตนเอง เพื่อเข้าใจ เรียนรู้ เพื่อก้าวต่อไป บทเรียนมีไว้ให้เรียนรู้ บทเรียนที่มีคุณภาพ สำหรับการพัฒนาที่ยั่งยืน

วิธีวิทยาถอดบทเรียน สร้างสรรค์ บรรยากาศที่เป็น ธรรมชาติ มิตรภาพ ปลอดภัยและมี ความสุข “ไว้วางใจ”

Facilitator สร้างบรรยากาศแห่งการเรียนรู้ร่วมกัน ตั้งประเด็น เข้าสู่ประเด็น จับประเด็น คลี่คลายประเด็น นำเสนอประเด็น เพื่อสะท้อนข้อมูลย้อนกลับ “- บทเรียน -”

บทเรียน “บทเรียน” เป็นข้อมูลที่มีชีวิต มีพลวัต เคลื่อนไหวตลอดเวลา “บทเรียน” เป็นข้อมูลที่มีชีวิต มีพลวัต เคลื่อนไหวตลอดเวลา “บทเรียน” จะมีพลังมากที่สุด ก็ต่อเมื่อมีการถอดบทเรียนสม่ำเสมอ

มุมมองงานพัฒนาคุณภาพ ผ่านสายตาคนนอกระบบ

SHA ปี ๒

Beyond HA. Kapho Dansai Raman Ubonratana Mind 2 Mind Social Quality Care & Share Social Quality Human Quality Ubonratana Raman Sufficiency  Economy Social Governance Innovation High performance Organization

โรงพยาบาลรามัน

โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชด่านซ้าย

โรงพยาบาลกะพ้อ

โรงพยาบาลอุบลรัตน์

มุมมองการถอดบทเรียน มุมมองจากคนนอก

คน : ต้นทุนที่มีคุณค่า

ระบบ (System) ระบบที่ซับซ้อน (Flexibility) ความซับซ้อน ยุ่งเหยิงที่เป็นธรรมชาติของคลี่คลายเพื่อการสร้างนวัตกรรม

ปรับเปลี่ยน สู่ สมดุล กระบวนการคุณภาพ ระดับ สรพ. และ รพ. ระดับ ปัจเจก และองค์กร การสร้างมาตรฐานคุณภาพร่วมกันผ่านการเรียนรู้ซึ่งกันและกัน

‘การก้าวไป’ เปิดใจ ยกระดับ ปรับตัว... พลวัตของกระบวนการพัฒนาคุณภาพ ที่สอดคล้องกับบริบทที่เปลี่ยนไป

ปัจจัยที่เอื้อต่อความสำเร็จของงานพัฒนาคุณภาพ

ผู้นำ กระบวนการนำและการบริหาร ผสมผสาน การร่วมมือ กับการแข่งขัน

Facilitators: ขุมพลังที่มีคุณค่าขององค์กร Facilitator

ทุนประเดิม กระบวนการพัฒนาคุณภาพ พื้นฐานร่วมกันในการพัฒนาคุณภาพองค์กร TQM CQI QC R2R HPH PDCA SPA KM LO ISO AI LEAN HEC OM MDNQA RCA 5ส.

วิธีคิด แนวคิดเรื่องการดูแลด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์ (humanized healthcare) แนวคิดองค์กรที่มีชีวิต (Living Organization) แนวคิดเรื่องนวัตกรรม เพื่อส่งเสริมการคิดค้น ระบบงานใหม่ๆ สร้างวิสัยทัศน์ที่ดีพอ (Good Enough Vision) ออกแบบระบบสำหรับสถานการณ์,บริบท

จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ ระบบที่ตอบสนองการเปลี่ยนแปลง ยืดหยุ่น (สิ่งที่ท้าทาย) ระหว่างบริบท กับ มาตรฐาน (ที่เป็นเพียงแนวทางการตัดสินใจ) การวางระบบ : การเชื่อมต่อระหว่างระบบบริหารคุณภาพ (Quality Management System) กับการบริหารองค์กรสู่ความเป็นเลิศ (Management for Performance Excellence)

จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ การพัฒนาบนฐานความรู้ (Wisdom) ใช้(Knowledge Utilization) จัดการ(Knowledge Management) สร้าง (Knowledge Creation) บรรยากาศ คน กระบวน การ

จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ แสวงหากระบวนการทำงานที่ง่ายกว่า การเทียบเคียง (Benchmarking) อย่างเข้าใจและเท่าทัน > บริบท วิธีการ เป้าหมาย การพัฒนาด้านมิติจิตวิญญาณ (Spirituality) การเยียวยาด้วยเรื่องเล่า (Narrative Medicine)

จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ AI : Appreciative Inquiry สำรวจและหา แก่นสารด้านบวก (Positive Core ) เปิดใจ มองหาศักยภาพ การปรับเปลี่ยนที่มีชีวิตชีวา ผัสสะและสุนทรียภาพ (Aesthetics) เยียวยาและปลุกปลอบ

วัฒนธรรมครอบครัว การสร้างวัฒนธรรมเชิงสร้างสรรค์ ปัจจัยแห่งความสำเร็จ SHA ที่ค้นพบจากการถอดบทเรียน การสร้างวัฒนธรรมเชิงสร้างสรรค์ วัฒนธรรมครอบครัว วัฒนธรรม การจัดการความรู้

ทีมงาน TEAM “TALENT wins the game, but TEAM wins the championship” ปัจจัยแห่งความสำเร็จ SHA ที่ค้นพบจากการถอดบทเรียน TEAM ทีมงาน “TALENT wins the game, but TEAM wins the championship” ไมเคิล จอร์แดน

LEAN Principle LEAN with R2R LEAN and Seamless ปัจจัยแห่งความสำเร็จ SHA ที่ค้นพบจากการถอดบทเรียน LEAN with R2R LEAN and Seamless LEAN Principle

Networks เครือข่ายนอกโรงพยาบาล พหุสังคม ปัจจัยแห่งความสำเร็จ SHA ที่ค้นพบจากการถอดบทเรียน Networks พหุสังคม เครือข่ายนอกโรงพยาบาล

กระบวนการเรียนรู้ ที่ทำให้เกิดการขับเคลื่อนการพัฒนาอย่างมีพลัง ปัจจัยแห่งความสำเร็จ SHA ที่ค้นพบจากการถอดบทเรียน กระบวนการเรียนรู้ ที่ทำให้เกิดการขับเคลื่อนการพัฒนาอย่างมีพลัง การจัดการความรู้

คุณภาพ คือ วิถี คุณภาพอย่างไร? ในแบบของเรา เหมาะสมกับองค์กร ปัจจัยแห่งความสำเร็จ SHA ที่ค้นพบจากการถอดบทเรียน คุณภาพ คือ วิถี คุณภาพอย่างไร? ในแบบของเรา เหมาะสมกับองค์กร และมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล

“SHA ทำให้งานที่ทำอยู่ชัดเจนขึ้น และ SHA ให้โอกาสคนทำงานในมิติจิตใจ ที่ยากแก่การมีพื้นที่เป็นของตัวเอง ด้วยลักษณะของงานที่มีกระบวนการซับซ้อนและละเอียดอ่อน ผลลัพธ์ของงานที่ได้ก็เป็นเชิงนามธรรม ที่ใช้ตัวชี้วัดใดๆ มาตัดสินและกำหนดมาตรฐานไม่ได้เลย”

จะยั่งยืนต่อไป...อย่างไร? ขับเคลื่อนด้วยองค์ความรู้ จากความหลากหลายแตกต่าง การจัดการความรู้ถอดบทเรียน แลกเปลี่ยน

ขอบคุณครับ