การศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพของ พืชวงศ์ขิงในภูวังงาม จังหวัดอุดรธานี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
PBL : Problem – based Learning
Advertisements

โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
งานนำเสนองานวิจัย. เรื่อง พฤติกรรมการใช้จ่าย. ของประชาชนในเขตชุมชน
โครงงานคืออะไร ??? ติดตามมาเลยนะครับ…..
COE คณะวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน
โครงงานสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพบริเวณป่าชายเลนบ้านอำเภอ
นำเสนองาน my mapping เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์ จัดทำโดย
OUTLINE หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ของงานวิจัย ขอบเขตเนื้อหางานวิจัย
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
ระบบจัดเก็บค่าน้ำประปา
สถานการณ์สำรวจอนามัยและสวัสดิการ (สอส.) ที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์แผนไทย
เขียนบทความวิจัยส่งอย่างไร
การใช้ทรัพยากรเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
"ความหลากชนิดของพรรณไม้ยืนต้นและสัตว์ป่าบริเวณป่าเขาเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา จังหวัดชลบุรี" เขาเกษตร สนามกีฬาเทศบาลตำบลแหลมฉบัง โรงอาหาร.
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
ชื่อ นางสาวกาญจนา นามสกุล ชูแสง หมู่ 27
สาขายุทธศาสตร์การพัฒนา รุ่นที่ 11
1. นางสาววิลาสินี หงษ์ทอง
นำเสนอโดย น.ส. วิไล เดชตุ้ม
เรื่อง การวางแผนประเมินโครงการ
แนวคิดในการวิเคราะห์ผู้เรียนที่นิยม 5 แนวคิด
การวิเคราะห์ผู้เรียน
การนำเสนอผลการอภิปราย
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
การบรรยายสรุป การสำรวจพื้นที่เพื่อจัดทำ และสนับสนุนโครงการนำร่อง: บ้านอมแรด อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ 13 สิงหาคม 2552.
การเขียนรายงานการวิจัย
ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
โครงการเทียบเท่าผลผลิต ประจำปีงบประมาณ 2550
แนะนำผู้ดูแลโรงเรียนขนาดเล็ก
ใบความรู้ เรื่อง...การทำโครงงาน
นายสันติ วิจักขณาลัญฉ์ นายไพโรจน์ เติมเตชาติพงศ์
และการประเมินแบบมีส่วนร่วม
โครงการแก้ปัญหาภัยพิบัติโดยชุมชน บ้านห้วยลากปืนใน ต. ห้วยไร่ อ
การวิจัยเพื่อท้องถิ่น: ความรู้เพื่อเสริมความแกร่ง (เข้มแข็ง) ของชุมชน
อาจารย์ระดับอุดมศึกษา รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
ข้อมูลภาวะการผลิตพืชรายเดือน (รต.)
การลดต้นทุนการผลิตพืช ประทีป วีระพัฒนนิรันดร์ มูลนิธิพลังนิเวศและชุมชน
วิจัยเพื่อชุมชน : การประเมินและถ่ายทอดเทคโนโลยีเกษตรยั่งยืน
การเขียนรายงานการวิจัย
การสำรวจติดตามสถานการณ์ศัตรูพืช
เกรียงเดช เจริญทรัพย์
การจัดการเรียนรู้/ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร
วิธีดำเนินการพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
การเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
องค์ประกอบที่ ๑ การจัดทำป้ายชื่อพรรณไม้
ใส่ชื่อเรื่องงานวิจัย กะทัดรัด มีตัวแปรต้น ตัวแปรตาม อย่างชัดเจน
ชีวะ ม. ปลาย.
การกำหนดโจทย์วิจัย/ปัญหาการวิจัย (Research problem )
ความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
คำนึง อุยตระกูล กศน.อำเภอบ้านไผ่
รศ. ดร. นิตยา เจรียงประเสริฐ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ชุดโครงการวิจัย ระบบสนับสนุนการตัดสินใจในการปลูกยางพาราในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ: กรณีศึกษาจังหวัดอุบลราชธานี (Decision Support System for Rubber Plantation.
รูปแบบรายงาน ผศ.ธนู บุญญานุวัตร
บทที่ 3 ผลกระทบของอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
โครงการ ขอบเขตเรื่องการเปลี่ยนแปลงของประเพณีสำคัญในชุมชนแม่ขรี
โครงการวิจัย 1 ปัญหาการจัดการสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติในชุมชน จากการใช้ผลการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อม(EIA) ประกอบการอนุญาตฯนิคมอุตสาหกรรมลำพูน โดยกลุ่มที่
OUTLINE หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ของงานวิจัย ขอบเขตเนื้อหางานวิจัย
ทีมวิจัย ประวัติศาสตร์ ท้องถิ่น. หน่วยที่ 1 จัดตั้งชุมนุม - มีนักเรียนร่วมโครงการ 17 คน - มีจุดประสงค์การเรียนรู้ - เลือกตั้งคณะกรรมการชุมนุม 1.นางสาวญาณนันท์
กรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น เขตพื้นที่การศึกษา เชียงรายเขต 1
การเขียนรายงานผลการวิจัย
ผู้วิจัย อาจารย์ธนพร ผ่อนวัฒนา
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
โดย คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย.
ผู้วิจัย อาจารย์กุลรภัส ปองไป
การเขียนรายงานการวิจัย (Research Paper)
การอ่านผลงานวิจัย / เอกสารวิชาการ เพื่อการทำวรรณกรรม ปริทัศน์
นักวิชาการสาธารณสุข 8 ว.
การพัฒนาระบบข้อมูล SME เพื่อ การพัฒนาโจทย์วิจัย วิสาหกิจ ชุมชนของมหาวิทยาลัยราชภัฏ สงขลา โดย ดร. ภวิกา บุณย พิพัฒน์ สถาบันวิจัยและ พัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพของ พืชวงศ์ขิงในภูวังงาม จังหวัดอุดรธานี นำเสนอโดย แสงเดือน เมฆประยูร รหัสนักศึกษา 541307129115 วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต (วท.ม.) การศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพของ พืชวงศ์ขิงในภูวังงาม จังหวัดอุดรธานี ขอขอบคุณ พรพิศ ศรีโบราณ มหาบัณฑิตมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี

ความเป็นมา เนื่องจากพืชวงศ์ขิงเป็นพืชที่มีความหลากหลายทางชีวภาพมากชนิดหนึ่งเป็นแหล่งผลิตภัณฑ์ธรรมชาติมีประโยชน์ต่อ วิถีมนุษย์มากมาย เช่น เป็นอาหาร เครื่องเทศ ยารักษาโรค สีย้อม เครื่องสำอางค์ ส่วนภูวังงามเป็นภูเขาที่มีแหล่งทรัพยากรที่สมบูรณ์ และเหมาะสมกับการเจริญเติบโตของพืชวงศ์ขิง จากความสำคัญดังกล่าว ผู้วิจัยจึงมีความสนใจที่จะศึกษาพืชวงศ์ขิง ที่ซึ่งมีความหลากลายทางชีวภาพที่แตกต่างกันนี้ ที่ภูวังงาม

วัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพ ของพืชวงศ์ขิงในภูวังงาม เพื่อศึกษาบริบทชุมชนและภูมิปัญญาท้องถิ่น ที่เกี่ยวกับพืชวงศ์ขิง ในตำบลคำเลาะ อำเภอไชยวาน จังหวัดอุดรธานี

ขอบเขตการวิจัย ศึกษาบริบทชุมชนและ ศึกษาความหลากหลาก ภูมิปัญญาท้องถิ่น ที่เกี่ยวกับพืชวงศ์ขิง ที่ประชาชนนำไปใช้ ประโยชน์ในชีวิตประจำวันในตำบลคำเลาะ อำเภอไชยวาน จังหวัดอุดรธานี ศึกษาความหลากหลาก ทางชีวภาพของพืช วงศ์ขิงในระดับสกุล และพืชวงศ์ขิงในภูวังงาม

วิธีดำเนินการวิจัย

วิธีดำเนินการศึกษาความหลากหลากทางชีวภาพของพืช วงศ์ขิงในระดับสกุล และพืชวงศ์ขิงในภูวังงาม 1.กำหนดพื้นที่ศึกษา 7.ส่งชื่อพรรณไม้ ให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบอีกครั้ง 2.ออกสำรวจภาคสนาม เพื่อเขียนแผนที่พื้นที่ที่ศึกษา 6.นำตัวอย่างที่วิเคราะห์แล้ว ไปตรวจสอบกับพิพิธภัณฑ์พืช มหาวิทยาลัยขอนแก่น และกรมป่าไม้ 3. เขียนแผนที่เส้นทางสำรวจ และเก็บตัวอย่างพืชวงศ์ขิง 5.ตรวจสอบชื่อวิทยาศาสตร์ ชื่อวงศ์และสกุล ของพืชวงศ์ขิง โดยเทียบกับเอกสารทางวิชาการ 4.ออกสำรวจและเก็บตัวอย่าง

วิธีดำเนินการศึกษาบริบทชุมชนและภูมิปัญญาท้องถิ่น ที่เกี่ยวกับพืชวงศ์ขิง ที่ประชาชนนำไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน 1.กำหนดพื้นที่ศึกษาและ กลุ่มตัวอย่าง 5.จัดกระทำข้อมูลเพื่อนำเสนอ ผลการศึกษา 2.กำหนดข้อมูลที่ต้องการศึกษาและประเด็นคำถาม 4. ออกสัมภาษณ์และเก็บบันทึกข้อมูล 3.สร้างเครื่องมือ (แบบสัมภาษณ์) แล้วให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบ

ผลการศึกษาวิจัย

ผลการศึกษาความหลากหลากทางชีวภาพของพืชวงศ์ขิง ในระดับสกุล และพืชวงศ์ขิงในภูวังงาม

ผลการศึกษาบริบทชุมชนและภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เกี่ยวกับพืชวงศ์ขิง ที่ประชาชนนำไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน(ด้านอาหาร)

ผลการศึกษาบริบทชุมชนและภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เกี่ยวกับพืชวงศ์ขิง ที่ประชาชนนำไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน(ด้านยาสมุนไพร)

ผลการศึกษาบริบทชุมชนและภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เกี่ยวกับพืชวงศ์ขิง ที่ประชาชนนำไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน (ด้านประเพณี ความเชื่อและพิธีกรรม)

ผลการศึกษาบริบทชุมชนและภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เกี่ยวกับพืชวงศ์ขิง ที่ประชาชนนำไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน (ด้านเศรษฐกิจ)

สรุปผลการวิจัย

อภิปรายผลการวิจัย

รศ.ดร.เบญจพร ศรีสุวรมาศ ที่ได้ชี้แนะแนวทางในการทำงานในครั้งนี้ ขอขอบคุณ รศ.ดร.เบญจพร ศรีสุวรมาศ ดร.เสาวภา ชูมณี ผศ.สุพจน์ เกิดมี ที่ได้ชี้แนะแนวทางในการทำงานในครั้งนี้

สวัสดีค่ะ ...