ระบบการเรียนรู้ในสังคมยุคใหม่ สมาชิก นางสาวสุวิมล อินทร์บริสุทธิ์ 54D0103220 นางสาวอังสนา อุดแจ่ม 54D0103221 วิชาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ปีการศึกษา 2554 ภาคเรียนที่ 2
ระบบการเรียนรู้ในสังคมยุคใหม่ ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาของประเทศไทยในปัจจุบัน 1. คุณภาพการจัดการศึกษาไทยในปัจจุบัน 2. ความเจริญก้าวหน้าด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 3. ด้านเศรษฐกิจ 4. ด้านสังคม ศาสนาและวัฒนธรรม 5. แนวโน้มของจำนวนประชากรไทย 6.ปัญหาด้านสภาพแวดล้อมและการเปลี่ยนแปลงของโลก
แนวโน้มการศึกษาไทยในอนาคต
แนวโน้มการศึกษาไทยในอนาคต - ปัจจัยด้านสังคมและประชากร สังคมเทคโนโลยีสารสนเทศ สังคมการ แข่งขัน สังคมที่เกิดช่องว่าง สังคมที่ อยู่ภายใต้กรอบมาตรฐานสากล สังคมที่เคารพ ในสิทธิมนุษยชน สังคมผู้สูงอายุ สังคมที่มุ่งสร้างเอกลักษณ์ของชุมชน สังคมที่ แสวงหาการเติมเต็มทางจิตใจ - ปัจจัยด้านเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม เศรษฐกิจเสรี เศรษฐกิจเครือข่าย เศรษฐกิจดิจิตอล เศรษฐกิจฐานความรู้ เศรษฐกิจที่ไม่เป็นธรรมและเหลื่อมล้ำสูงขึ้น เศรษฐกิจที่พึ่งพาการส่งออก เศรษฐกิจที่พึ่งพาการส่งออก เศรษฐกิจที่พึ่งพา - ปัจจัยด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม - ปัจจัยการเมืองการปกครอง 1. ปัจจัยด้านสภาวะแวดล้อมโลกและสังคมไทย
แนวโน้มการศึกษาไทยในอนาคต 2. ปัจจัยด้านสถาบันการศึกษาไทย 3. ปัจจัยด้านรัฐต่อการจัดการศึกษาไทยภายใต้สภาพโลกาภิวัตน์ ภาวะผู้นำของผู้นำรัฐบาล
แนวโน้มด้านบวก หลักสูตรใหม่เกิดขึ้นจำนวนมาก หลักสูตรนานาชาติมีแนวโน้มมาก การจัดการศึกษามีความเป็นสากลมากขึ้น ความเหลื่อมล้ำด้านโอกาสทางการศึกษาลดลง โอกาสรับบริการทางการศึกษาที่มีคุณภาพเพิ่มขึ้น
แนวโน้มด้านลบ การเพิ่มช่องว่างด้านคุณภาพในการจัดการศึกษา การผลิตบัณฑิตเกินความต้องการของตลาด การสอนทักษะการคิดและทักษะทางอารมณ์ยังไม่มี คุณภาพ การสอนคุณธรรมจริยธรรมยังไม่มีคุณภาพ การสอนภาษาต่างประเทศยังไม่มีคุณภาพ
การศึกษาไทยในยุคโลกาภิวัตน์ ECIT • E : Electronic เทคโนโลยีอีเล็กทรอนิกส์ • C : Computer เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ • I : Information เทคโนโลยีสารสนเทศ • T: Telecommunication เทคโนโลยี โทรคมนาคม
ความสำคัญการศึกษาไทยในยุคโลกาภิวัตน์ - เป้าหมายของการศึกษา จะเป็นไปในลักษณะที่มุ่งพัฒนาวุฒิของความ เป็นมนุษย์ ที่วัดไม่ได้ด้วย วุฒิบัตร - เนื้อหาของการศึกษา จะเน้นส่งเสริมสร้างการพัฒนาความเป็นมนุษย์ให้ สมดุล - รูปแบบของการจัดการศึกษาในอนาคต จะให้อิสระแก่ผู้เรียนมากขึ้น ให้ คนรักท้องถิ่นและสามารถดำเนินชีวิตในท้องถิ่นได้อย่างพึงพอใจ มีการใช้รูปแบบ ขององค์กรต่าง ๆ เข้ามารวมกับการศึกษามากขึ้น เช่น ครอบครัว ชุมชน สื่อมวลชน องค์กรศาสนา ภาคเอกชน องค์กรเอกชน องค์กรเฉพาะกิจ - ระบบการศึกษาจะเป็นการเรียนรู้ เป็นแบบเสรี มีการนำเทคโนโลยี สารสนเทศข้อมูลของโลก มาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดในการจัดการศึกษา - โรงเรียนในอนาคต จะเป็นแบบลักษณะ Plug-in Scool และ Global Classes ซึ่งครูกับนักเรียนไม่จำเป็นต้องจำกัดอยู่แต่ในห้องเรียน แต่จะกลายเป็น Cyber Space Curriculum คือ บทเรียนสมัยใหม่ที่ผ่านสื่อยุคใหม่ เช่นอินเตอร์เน็ต อันจะทำให้สามารถศึกษาค้นคว้าแหล่งข้อมูลต่าง ๆทั่วโลกได้อย่างไม่มีขีดจำกัด
อ้างอิง การศึกษาไทยในยุคโลกาภิวัตน์. http://www.pantown.com/group.php?display=content&id=36749&name=content18&area=3 ปัญหาการศึกษาและแนวโน้มการศึกษาไทยในอนาคต. http://tuinui.212cafe.com/archive/2009-09-08/ef303/ ปัทมา ว่าพัฒนวงศ์ และ ปราโมทย์ ประสาทกุล. “ประชากรไทยในอนาคต” อ้างถึงใน กฤตยา อาชวนิจกุล และ วรชัย ทองไทย (บรรณาธิการ) ประชากรและสังคม 2549 สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล Institute for Population and Social Research, MahidolUniversity ปรัชญนันท์ นิลสุข และรัตนาภรณ์ กาศโอสถ. เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้. บทความตีพิมพ์ในวารสารรังสิตสารสนเทศ ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2546. ปราโมทย์ ประสานกุล และคณะ. การเปลี่ยนแปลงประชากรไทยกับการศึกษา เอกสารประกอบการประชุมระดมความคิด เรื่อง “ภาพการศึกษาไทยในอนาคต 10-20 ปี” วันที่ 22-23กุมภาพันธ์ 2550 จัดโดยสำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา ศ. ดร. เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. http://www.kriengsak.com/node/77 วิทยากร เชียงกูล. สภาวะการศึกษาไทย ปี 50/51, สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. วิษณุ บุญมารัตน์.http://www.wiszanu.com/index.php?option=com_content&task=view&id=381&Itemid=49 วิภาวี เอี่ยมวรเมธ. Globalization (โลกาภิวัตน์) .arts.kmutt.ac.th/ssc260/doc/Globalization1.doc สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2550). ผลกระทบโลกาภิวัตน์ต่อการจัดการศึกษา ไทยใน ๕ ปีข้างหน้า. วารสารการศึกษาไทย. หลักสูตรท้องถิ่นสัมพันธ์. http://library.uru.ac.th/webdb/images/thedu6.htm