สรุปโครงสร้างของ (ร่าง) แผนยุทธศาสตร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

ชี้แจงการสัมมนากลุ่มย่อย
สรุปข้อเสนอแนะ กลุ่มผู้แทนหน่วยงานภาครัฐ เครือข่ายการมีส่วนร่วมภาคประชาชนระดับภูมิภาค.
หลักเกณฑ์การวิเคราะห์ความเสี่ยง ตามหลักธรรมาภิบาล
หลักการสำคัญ ในการปรับปรุงกฎหมาย ว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
ข้อควรคำนึงในการสร้างเครือข่าย
กองทุนพัฒนาไฟฟ้ากับ การพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
กรอบความคิดในการกำหนดยุทธศาสตร์ และแผนงาน ปีงบประมาณ 2550
สรุปการประชุม ครั้งที่ 1 วันที่ 4-5 เมษายน 2555 สรุปการประชุม ครั้งที่ 1 วันที่ 4-5 เมษายน 2555.
วิสัยทัศน์กรมส่งเสริมสหกรณ์ (Vision) ปี
ขอบเขตความรับผิดชอบของรัฐบาลท้องถิ่น
นโยบายการคลัง.
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการ
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ไทย ทิพย์สุวรรณกุล
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กับกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
ยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 ( ) vs ยุทธศาสตร์และแผนวิจัยระบบสาธารณสุข
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
6.การตั้งงบประมาณรายจ่าย หมวดเงินอุดหนุน ให้หน่วยงานอื่น
กำลังคน กระทรวงสาธารณสุข
ผลสรุปการแบ่งกลุ่มย่อยประชุมวิชาการเชิงปฏิบัติการ
ขอบเขตความรับผิดชอบของรัฐบาลท้องถิ่น
การจัดทำคำของบประมาณรายจ่าย กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
การกระจายอำนาจสู่ อปท.
โดย สมภพ อมาตยกุล 21 กันยายน 2548
กลุ่มที่ 2 กลุ่มจังหวัดที่ 3.1 (นนทบุรี พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี อ่างทอง) กลุ่มจังหวัดที่ 3.2 (ชัยนาท ลพบุรี สระบุรี สิงห์บุรี) กลุ่มจังหวัดที่ 4.1 (กาญจนบุรี
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
สำนักนโยบายและแผนการอาชีวศึกษา
คน Man ผู้บริหาร บุคลากรของทุกระดับ.
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
สรุปแนวทาง การระดมความคิดเห็น กลุ่มย่อยที่ 4
การสร้างความเข้มแข็งของ ระบบสนับสนุนยุทธศาสตร์. ความจริงที่เป็นอยู่ ( มายาวนาน )
การบริหารงานจังหวัดลพบุรีแบบ บูรณาการ กพร.- TRIS 18/05/2549.
วัตถุประสงค์ และผลผลิตหลักโครงการ
ระเบียบวาระการเตรียมทีมนิเทศงาน ปี 2557
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
เครือข่ายการ พัฒนา ทรัพยากร มนุษย์ สุริยะ วงศ์คง คาเทพ.
นโยบายสาธารณะกับการปฏิรูปการเมือง การปกครอง และการบริหาร
การบริหารงานบุคลากร ภาครัฐแนวใหม่
การสัมมนากลุ่ม 3 ความสำเร็จในการจัดทำแผนงาน/โครงการ
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
รองเลขาธิการคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
กำลังคน กระทรวงสาธารณสุข
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
มาตรการเร่งรัดติดตาม การใช้จ่ายเงินปีงบประมาณ พ.ศ.2557
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
ธรรมาภิบาลกับการจัดการภาครัฐแนวใหม่
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
ความจำเป็นของเครือข่ายภาคประชาชนระดับภูมิภาค มีมากน้อยเพียงใด จำเป็นเพราะต้องแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ช่วยเหลือซึ่งกันและ กันเพื่อได้ประโยชน์ด้วยกัน มีการสร้างเครือข่ายในแต่ละภูมิภาค.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สรุปโครงสร้างของ (ร่าง) แผนยุทธศาสตร์ คณะอนุกรรมการเฉพาะกิจเพื่อจัดทำยุทธศาสตร์การกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และจัดระบบความสัมพันธ์ด้านการมีส่วนร่วมของประชาชนกับส่วนราชการ และระบบการติดตามประเมินผล สรุปโครงสร้างของ (ร่าง) แผนยุทธศาสตร์ การกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่ 3) พ.ศ. ....

บทนำ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 1 2 พระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจฯ พ.ศ. 2542 3 การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การกระจายอำนาจในช่วงระยะ 10 ปีที่ผ่านมา 4 ปัญหาอุปสรรค (ร่าง) แผนพัฒนาเศรษฐกิจฯ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555-2559) 5 2 6 การประเมินสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงที่มีผลกระทบต่อการกระจายอำนาจ

วิสัยทัศน์ “ประชาชนในท้องถิ่นจะมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น เข้าถึงการบริการสาธารณะได้อย่างทั่วถึงและเป็นธรรมมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการท้องถิ่น องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นองค์กรที่มีความเข้มแข็ง มีอิสระ และเป็นหน่วยงานหลักในการจัดบริการสาธารณะที่มีคุณภาพ ระบบความสัมพันธ์ระหว่างรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ประชาชน ภาคประชาสังคมอื่น และภาคเอกชนที่ชัดเจน”

พันธกิจ พัฒนากระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชน ในการบริหารจัดการของ อปท. เพื่อสร้างความเป็นเจ้าของร่วมกัน มีระบบการติดตามตรวจสอบและประเมินผลที่ชัดเจน ส่งเสริมให้ อปท. มีความเข้มแข็งทางด้านการเงินการคลัง การบริหารทรัพยากรบุคคล และสร้างภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลงที่เกิดผลกระทบจากปัจจัยภายในและภายนอก ส่งเสริมความสัมพันธ์ระหว่างราชการส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค รัฐวิสาหกิจ อปท. ประชาชน ภาคประชาสังคม ชุมชนท้องถิ่น และภาคเอกชน

วัตถุประสงค์และเป้าหมายหลัก เพื่อให้มีการกระจายอำนาจให้แก่ อปท. อย่างต่อเนื่อง ประชาชน และชุมชนท้องถิ่นมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น และสามารถขจัดความ เหลื่อมล้ำในสังคม อปท. มีอิสระและมีความเข้มแข็งทางการเงินการคลัง มีประสิทธิภาพในการใช้ จ่ายเงินที่เพิ่มขึ้น ราชการบริหารส่วนกลางและราชการบริหารส่วนภูมิภาคลดหรือยุติบทบาทใน พื้นที่ ให้ อปท. เป็นผู้ปฏิบัติแทน โดยส่วนกลางกำหนดมาตรฐาน ให้ความรู้ทางเทคนิควิชาการ

วัตถุประสงค์และเป้าหมายหลัก วัตถุประสงค์ ต่อ พัฒนาการบริหารทรัพยากรบุคคลของ อปท. เพื่อรองรับการกระจายอำนาจ แก้ไขกฎหมาย เพื่อให้ อปท. ดำเนินการตามภารกิจที่ถ่ายโอน และกฎ ระเบียบต่างๆ ที่เป็นอุปสรรค มีการผ่อนคลาย เพื่อเอื้อให้ อปท. มีความเป็นอิสระมากขึ้น ระบบความสัมพันธ์ระหว่างราชการส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค รัฐวิสาหกิจ อปท. ประชาชน ภาคประชาสังคม ชุมชนท้องถิ่น และภาคเอกชน เกิดภาคีเครือข่ายการทำงานร่วมกัน

วัตถุประสงค์และเป้าหมายหลัก ประชาชนในท้องถิ่นได้รับการบริการสาธารณะที่ได้มาตรฐาน ทั่วถึง และเป็นธรรม และเข้าไปมีส่วนร่วมในทุกกระบวนการของการบริหารจัดการของ อปท. มากขึ้น อปท. มีความเป็นอิสระมากขึ้น และสัดส่วนรายได้ของ อปท. มีอัตราเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยภายในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๙ อปท.มีรายได้เพิ่มขึ้นไม่ต่ำกว่าร้อยละ ๓๕ บุคลากรที่ถ่ายโอนมีความมั่นใจด้านความมั่นคงมีหลักประกันความก้าวหน้า และบุคลากรของท้องถิ่นได้รับการพัฒนาให้มีสมรรถนะเพิ่มขึ้น

วัตถุประสงค์และเป้าหมายหลัก เป้าหมายหลัก ต่อ มีการแก้ไขกฎหมายตามภารกิจที่ถ่ายโอน และปรับปรุงกฎ ระเบียบต่างๆ ที่เป็นอุปสรรคในการดำเนินงาน ให้แล้วเสร็จภายใน ๒ ปี ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับ อปท. ระหว่าง อปท. ด้วยกันเอง และ อปท. กับทุกภาคส่วนมีความเชื่อมโยงเป็นภาคีเครือข่ายซึ่งกันและกัน

ยุทธศาสตร์และแนวทางการกระจายอำนาจ การส่งเสริมให้ อปท. มีอิสระและเป็นหน่วยงานหลักในการจัดบริการสาธารณะที่มีประสิทธิภาพ ยุทธศาสตร์ 1 ยุทธศาสตร์ 2 การเสริมสร้างความเข้มแข็งทางการเงินการคลังของ อปท. การพัฒนาการบริหารทรัพยากรบุคคลของ อปท. เพื่อรองรับการกระจายอำนาจ ยุทธศาสตร์ 3 การส่งเสริมความสัมพันธ์ระหว่างภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ อปท. และระหว่าง อปท. ด้วยกันเอง ยุทธศาสตร์ 4

ยุทธศาสตร์และแนวทางการกระจายอำนาจ เสริมสร้างและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชน ภาคประชาสังคม ชุมชน และภาคเอกชน ยุทธศาสตร์ 5 ระบบการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ยุทธศาสตร์ 6

การส่งเสริมให้ อปท. มีอิสระและเป็นหน่วยงานหลักในการจัดบริการสาธารณะที่มีประสิทธิภาพ ยุทธศาสตร์ 1 ส่งเสริมให้ อปท. มีอิสระในการจัดทำบริการสาธารณะ อิสระกำหนดนโยบาย ส่งเสริมให้ อปท. มีอำนาจและหน้าที่โดยเป็นหน่วยงานหลักในการจัดทำ บริการสาธารณะ - ครบถ้วนสมบูรณ์ทั้งระบบ ภารกิจที่เป็นประโยชน์และเกี่ยวข้องกับวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชน ในหลักการต้องถ่ายโอนให้ อปท. ในพื้นที่ดูแล ถ่ายโอนภารกิจตามความจำเป็นในแต่ละพื้นที่ ศักยภาพ ความพร้อม ลักษณะทางกายภาพ ข้อเท็จจริงและความเป็นอยู่ ส่งเสริมให้ อปท. มีส่วนร่วมในการจัดการวัฒนธรรมที่เชื่อมโยงกับการพัฒนา เศรษฐกิจ การท่องเที่ยว การศึกษา และสิ่งแวดล้อม 1 2 3 4 5

การส่งเสริมให้ อปท. มีอิสระและเป็นหน่วยงานหลักในการจัดบริการสาธารณะที่มีประสิทธิภาพ ยุทธศาสตร์ 1 อปท. แก้ไขปัญหาให้แก่ประชาชนในพื้นที่ โดยส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และ สถาบันการศึกษา สนับสนุนทางด้านเทคนิควิชาการ ปรับบทบาทของ อปท. ให้สอดคล้องและสนับสนุนแนวทางการพัฒนา ประเทศและพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงในอนาคต พัฒนาระบบฐานข้อมูลระดับพื้นที่ ส่งเสริมให้มีรูปแบบการจัดบริการสาธารณะที่หลากหลาย อาทิ การร่วมทุน ระหว่างเอกชน วิสาหกิจชุมชน องค์กรมหาชนท้องถิ่น สหการ ปรับปรุงและผ่อนคลายกฎ ระเบียบต่าง ๆ ที่เป็นอุปสรรคในการดำเนินงานใน ด้านต่างๆ เพื่อเอื้อให้ อปท. มีความเป็นอิสระมากขึ้นให้สามารถมีนวัตกรรม ในการจัดบริการสาธารณะที่ตอบสนองความต้องการของประชาชนในท้องถิ่น 6 7 8 9 10

การส่งเสริมให้ อปท. มีอิสระและเป็นหน่วยงานหลักในการจัดบริการสาธารณะที่มีประสิทธิภาพ ยุทธศาสตร์ 1 กิจการอื่นใดที่เป็นผลประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่น ให้คณะกรรมการ ประกาศกำหนด อาทิ การพยุงราคาผลผลิตทางการเกษตร การทำตลาด กลางเพื่อรับซื้อผลผลิตทางการเกษตร และการส่งเสริมการลงทุนในเขตพื้นที่ แก้ไข กฎ ระเบียบที่เกี่ยวข้องให้ อปท. สามารถดำเนินการว่าจ้าง หมู่บ้าน /ชุมชนเป็นผู้รับไปดำเนินการจัดทำบริการสาธารณะขนาดเล็กได้ อาทิ การเก็บขยะ การดูแลบำรุงรักษาสาธารณประโยชน์ เป็นต้น ภารกิจที่เกี่ยวข้องกับกฎหมาย ให้ส่วนราชการที่เกี่ยวข้องดำเนินการแก้ไข กฎหมายให้แล้วเสร็จภายใน ๒ ปี กำหนดให้การถ่ายโอนภารกิจของส่วนราชการเป็นตัวชี้วัด (KPI) 11 12 13 14

การเสริมสร้างความเข้มแข็งทางการเงินการคลังของ อปท. ยุทธศาสตร์ 2 การเสริมสร้างความเข้มแข็งทางการเงินการคลังของ อปท. ส่งเสริมความเป็นอิสระทางการคลังขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 1 การปรับโครงสร้างรายได้ให้สอดคล้องกับภารกิจที่รับผิดชอบของ อปท. การปรับปรุงรายได้ที่ อปท. จัดเก็บเอง การปรับปรุงรายได้ที่รัฐบาลจัดเก็บให้ อปท. การปรับปรุงการจัดสรรเงินอุดหนุนให้แก่ อปท. การกำหนดสัดส่วนรายได้ของ อปท. ต่อรายได้สุทธิของรัฐบาล การทบทวนการจัดสรรรายได้ให้แก่ อปท.

การเสริมสร้างความเข้มแข็งทางการเงินการคลังของ อปท. ยุทธศาสตร์ 2 การเสริมสร้างความเข้มแข็งทางการเงินการคลังของ อปท. พัฒนาประสิทธิภาพการใช้จ่ายเงินของ อปท. ให้สอดคล้องกับภารกิจ 2 การพัฒนาระบบการจัดหารายได้ อปท. การพัฒนายุทธศาสตร์การบริหารงานของ อปท. การพัฒนาวิธีการงบประมาณของ อปท. การพัฒนาระบบบัญชีของ อปท. การพัฒนาศักยภาพการบริหารการเงินการคลัง การเสริมสร้างวินัยทางการเงิน การคลังของ อปท. การพัฒนาระบบฐานข้อมูลการเงินการคลังของ อปท. การพัฒนาระบบการติดตามและตรวจสอบการบริหารงบประมาณของ อปท. การแก้ไขปัญหาข้อพิพาทและการแสวงหาความร่วมมือใน อปท.

การพัฒนาการบริหารทรัพยากรบุคคลของ อปท. เพื่อรองรับการกระจายอำนาจ ยุทธศาสตร์ 3 การถ่ายโอนบุคลากรจากภาคราชการตามภารกิจที่ถ่ายโอน การถ่ายโอนบุคลากรจากส่วนกลาง ส่วนภูมิภาคให้แก่ อปท. ต้องสอดคล้องกับภารกิจถ่ายโอน การถ่ายโอนบุคลากร ยึดหลักการ “งานไป ตำแหน่งไป” หาก อปท. เห็นถึงความจำเป็นดังกล่าวอาจร้องขอ และทำความตกลงกับส่วนราชการที่ถ่ายโอนภารกิจ เพื่อให้ข้าราชการในสังกัดอยู่ช่วยราชการต่อไปอีก ๒ ปี 1 2 3 ให้มีการวิเคราะห์กรอบอัตรากำลังคน หรือแผนอัตรากำลังคนให้สอดคล้องกับภาระหน้าที่ที่เพิ่มขึ้นของ อปท. 4

การพัฒนาการบริหารทรัพยากรบุคคลของ อปท. เพื่อรองรับการกระจายอำนาจ ยุทธศาสตร์ 3 สร้างความมั่นใจด้านความมั่นคง หลักประกันความก้าวหน้าในการทำงาน ลดความเหลื่อมล้ำระหว่างข้าราชการส่วนกลาง กับข้าราชการส่วนท้องถิ่น รวมถึงสถานภาพและสิทธิประโยชน์ต่อเนื่องของสมาชิก กบข. การพัฒนาทรัพยากรบุคคลของ อปท. การกำหนดมาตรฐานกลางในการบริหารงานบุคคล ของ อปท. ควรให้บุคลากรของ อปท. เข้าไปมีส่วนร่วม โดยให้คำนึงถึงมาตรฐานการบริหารงานบุคคลที่มีความเป็นวิชาชีพมากขึ้น 5 1 ส่งเสริมและเปิดโอกาสให้มีการโอน ย้าย สับเปลี่ยน ยืมตัวบุคลากรระหว่าง อปท. ด้วยกันเอง หรือระหว่าง อปท. กับส่วนราชการ 2

การถ่ายโอนบุคลากรจากภาครัฐให้แก่ อปท. และการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของ อปท การถ่ายโอนบุคลากรจากภาครัฐให้แก่ อปท. และการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของ อปท. เพื่อรองรับการกระจายอำนาจ ยุทธศาสตร์ 3 การพัฒนาทรัพยากรบุคคลของ อปท. ต่อ 3 ส่งเสริมให้การบริหารทรัพยากรบุคคลส่วนท้องถิ่นยึดหลักการตามระบบคุณธรรม มีกลไกดูแลความเป็นธรรม เสริมสร้างและพัฒนาองค์ความรู้ เพื่อเพิ่มสมรรถนะการทำงานของบุคลากรท้องถิ่น ทั้งฝ่ายการเมืองและฝ่ายประจำ รวมถึงพนักงานและลูกจ้างให้มีความพร้อมในการรองรับการทำงานที่เพิ่มขึ้น 4 เสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม เกียรติภูมิ ความโปร่งใสและธรรมาภิบาลให้ผู้บริหารและบุคลากรท้องถิ่น 5 สร้างความสัมพันธ์ในระบบบริหารงานบุคลากรท้องถิ่นระหว่างฝ่ายการเมืองและฝ่ายประจำ 6

การส่งเสริมความสัมพันธ์ระหว่างภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ อปท. และระหว่าง อปท การส่งเสริมความสัมพันธ์ระหว่างภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ อปท. และระหว่าง อปท. ด้วยกันเอง ยุทธศาสตร์ 4 ส่งเสริม และสนับสนุนความสัมพันธ์ระหว่าง อปท. ด้วยกันเอง ส่งเสริม และสนับสนุนความสัมพันธ์ระหว่าง อปท. กับส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่งเสริม สนับสนุนความสัมพันธ์ระหว่าง อปท. กับรัฐวิสาหกิจ ความสัมพันธ์ระหว่างราชการส่วนกลาง และราชการส่วนภูมิภาค การจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นของตนเอง และประสานการจัดทำแผนพัฒนา จังหวัด 1 2 3 4 5

เสริมสร้างและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชน ภาคประชาสังคม ชุมชน และภาคเอกชน ยุทธศาสตร์ 5 เปิดช่องทางให้ประชาชน ชุมชน หมู่บ้าน ภาคประชาสังคม และภาคเอกชน เข้าไปมีส่วนร่วมในการดำเนินการต่างๆ ของ อปท. สนับสนุนกระบวนการมีส่วนร่วมและพัฒนาศักยภาพของท้องถิ่นและชุมชน โดยผลักดันให้เกิดความเป็นหุ้นส่วนร่วมกัน เพื่อการพัฒนา และแก้ไขปัญหา พัฒนาศักยภาพชุมชนให้เข้มแข็งพร้อมรับมือกับการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ โดย อปท. รณรงค์ กระตุ้น สร้างจิตสำนึกในการดำเนินการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม รณรงค์สร้างจิตสำนึกระหว่าง อปท. และชุมชนต่างๆ ทั้งที่เป็นองค์กรชุมชน หรือองค์กรประชาชน ต่าง ๆ ให้ตระหนักเรื่องการมีส่วนร่วมให้มากขึ้น 1 2 3 4 5

เสริมสร้างและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชน ภาคประชาสังคม ชุมชน และภาคเอกชน ยุทธศาสตร์ 5 กำหนดบทบาทหน้าที่ที่ชัดเจน ระหว่างราชการส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค อปท. ประชาชน ชุมชน หมู่บ้าน ภาคประชาสังคมและภาคเอกชนในพื้นที่ 5 5 ส่งเสริม อปท. ให้มีบทบาทในการแก้ไขปัญหาให้แก่ประชาชนในพื้นที่ โดยราชการบริหารส่วนกลาง ราชการบริหารส่วนภูมิภาค และสถาบันการศึกษา ให้การสนับสนุนทางด้านเทคนิควิชาการ และองค์ความรู้ อปท. สนับสนุนกระบวนการวางแผนชุมชนระยะยาว เพื่อสร้างความเข้มแข็งของชุมชนได้อย่างเท่าทันต่อสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป พัฒนาและส่งเสริมให้สภาท้องถิ่น ทำหน้าที่เชื่อมโยงความต้องการและนำปัญหาของประชาชนในหมู่บ้านและชุมชนเสนอต่อฝ่ายบริหารท้องถิ่น 6 7 8

ระบบการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ยุทธศาสตร์ 6 สร้างระบบการตรวจสอบการใช้งบประมาณที่มุ่งให้เกิดความคุ้มค่า สมประโยชน์ และโปร่งใส มีกลไกการตรวจสอบจากภาคประชาชน โดยใช้ระบบสารสนเทศ อปท. ต้องรายงานผลการดำเนินงานต่อ กกถ. เพื่อเป็นฐานข้อมูล ในการกำหนดสัดส่วนรายได้ มีกลไกการติดตามและประเมินผล โดยประสานส่วนราชการ สถาบันการศึกษา อปท. และองค์กรเครือข่ายต่างๆ ในภูมิภาค 1 2 3 4 5

รูปแบบการกระจายอำนาจ ภารกิจที่สามารถถ่ายโอนได้ทันที ภารกิจที่ถ่ายโอนโดยมีเงื่อนไข ภารกิจในลักษณะรัฐทำร่วมกับ อปท. (Share Function) ภารกิจที่ อปท. ริเริ่มด้วยตนเอง 1 2 3 4

ระยะเวลาการกระจายอำนาจ ระยะที่ 1 ระยะที่ 2 ปีงบประมาณ พ.ศ.2555-2559 ระยะแรก ภารกิจที่ต้องแก้ไขกฎหมาย (ปีงบประมาณ พ.ศ. 2555-2556) ส่วนราชการเร่งแก้ไขกฎหมายให้ อปท. มีอำนาจอนุมัติ/อนุญาต ปีงบประมาณ พ.ศ. 2555ภารกิจที่สามารถถ่ายโอนให้แก่อปท. ได้ทันทีโดยไม่ต้องแก้ไขกฎหมาย ระยะที่สอง กรณีแก้ไขกฎหมายแล้ว (ปีงบประมาณ พ.ศ. 2557-2559) เตรียมความพร้อมให้แก่ อปท. เพื่อรองรับการถ่ายโอน ภารกิจที่ต้องประเมินความพร้อม ปีงบประมาณ พ.ศ. 2555-2559 อปท. ต้องผ่านการประเมิน ความพร้อม ได้แก่ การศึกษา สาธารณะสุข

การพิจารณาการถ่ายโอนภารกิจ ด้านโครงสร้างพื้นฐาน ด้านสังคม ด้านเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม www.themegallery.com Company Logo

กลไกการบริหารแผนการกระจายอำนาจฯ ฉบับที่ 3. (พ. ศ กลไกการบริหารแผนการกระจายอำนาจฯ ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2555-2559) ไปสู่การปฏิบัติ การปฏิบัติ กลไกระดับ จังหวัด ก.พ.ร. ก.พ. สงป. กลไก สนับสนุน -คณะอนุกรรมการอำนวยการการกระจายอำนาจให้แก่ อปท. ระดับจังหวัด กลไกกำกับดูแล และ กำกับการดำเนินงาน กลไกของ ส่วนราชการ ที่ถ่ายโอน สตง. - สถ. - สกถ. - คณะอนุกรรมการฯ คณะต่างๆ