การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การปรับแนวคิดพื้นฐานเรื่องการ สนับสนุนของกองทุนฯตำบล รูป แบบเดิม รูปแบบ ใหม่
Advertisements

ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๖ Service Plan บริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ สุขภาพองค์รวม ทพ.อนุโรจน์ เล็กเจริญสุข ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ.
การประชุมเชิงปฏิบัติการสร้างและใช้ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
ตามแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์(SRM) สู่การ ปฏิบัติการในพื้นที่
ประเด็นยุทธศาสตร์ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ดื่มน้ำสะอาด
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน (รนสช.)
โรงเรียน อสม.ตำบลหนองไม้แก่น
สวัสดีครับ.
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์ ปี พ.ศ.2557 สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอร้องกวาง
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 8 จังหวัดนครสวรรค์
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ความก้าวหน้าการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สูการปฏิบัติ
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
การสำรวจหา ค่ากลาง นโยบายรัฐบาล เรื่องการพัฒนาสุขภาพของ ประชาชน ประกาศเมื่อ 23 สิงหาคม จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมี เป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
กำหนดเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
การสร้างแผนงาน/โครงการ
การปรับแนวคิดพื้นฐานเรื่องการ สนับสนุนของกองทุนฯตำบล รูป แบบเดิม รูปแบบ ใหม่
การปรับแนวคิดพื้นฐานเรื่องการ สนับสนุนของกองทุนฯตำบล รูป แบบเดิม รูปแบบ ใหม่
การสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ปฏิบัติการย่อย (Mini-SLM)
การสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
ทิศทาง การทำงาน๒๕๕๔ นพ.นิทัศน์ รายยวา 1.
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ(SLM) ร่วมสองกรม
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์
คำแนะนำการใช้ SLM ร่วมระหว่าง กรมอนามัยและควบคุมโรค  การจัดการทั่วไป 1. สสจ. จัดประชุมเพื่อพัฒนา SLM ร่วมเพิ่มเติม ผู้ เข้าประชุมประกอบด้วยคณะผู้แทนศูนย์อนามัย.
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
จะเริ่มอย่างไร ? จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบสุขภาพระดับอำเภอ อยู่ที่การกำหนดค่ากลางของความสำเร็จของโครงการสุขภาพระดับเขต เพื่อส่งมอบให้จังหวัดนำเข้าสู่กระบวนการ(1)
การจัดการค่า กลาง. ค่ากลางคือ อะไร ? %100% 65 การยกระดับคุณภาพของแผนงาน / โครงการ * โดยใช้ค่ากลาง ความถี่ สูงสุด % งา น บริเวณค่า.
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
29th Chumphol hospital.
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
คำแนะนำสำหรับกระทรวง สาธารณสุข  จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบ สุขภาพระดับอำเภอ อยู่ที่การ กำหนดค่ากลางของ ความสำเร็จของโครงการ สุขภาพระดับเขต เพื่อส่ง มอบให้จังหวัดนำเข้าสู่
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ผังจุดหมายปลายทาง การพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (PP) กองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่น และเทศบาลเมืองรังสิต จ.ปทุมธานี ภายในปี พ.ศ
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
(Evaluation) มุมมองประชาชน มุมมองภาคี (Stakeholder) มุมมองกระบวนการ
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
กลุ่มที่ 5 และกลุ่มที่ 12. สรุปกระบวนการและ ข้อเสนอแนะ การนิเทศ รพ. สต. รอบที่ 1 เป็นแนวคิดที่เน้นการนิเทศงานแบบ กระบวนการทำงานของแต่ละพื้นที่ ซึ่งไม่มีรูปแบบตายตัว.
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน ส่วนที่ 3 รูปแบบและแนวทาง การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน

อะไร? อย่างไร? ในการพัฒนาเป็นโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน “โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน” อะไร? อย่างไร? ในการพัฒนาเป็นโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน นายสุทธิพงษ์ วสุโสภาพล ผู้ชำนาญการ สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ(สช.) นักวิชาการ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงฯ(สธ.) กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการคณะกรรมการสนับสนุนและพัฒนาระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่(สปสช.) โทร 081-8855365, 081-9518499 E-mail:Suttipong_va@hotmail.com 2

เปลี่ยนวิกฤติให้เป็นโอกาส ในขณะที่ระบบสาธารณสุขมีการเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่อง มีองค์กรใหม่ๆ ผู้แสดงบทบาทเกิดขึ้นโดยเฉพาะในระดับท้องถิ่นและชุมชน หน่วยงานสาธารณสุขซึ่งเดิมเคยผูกขาดงานด้านนี้ก็ต้องปรับบทบาท ตลอดจนตำแหน่งแห่งที่ของตนในบริบทใหม่ คือ ต้องแข่งขันกับตัวเองเพื่อการพัฒนาและความอยู่รอด นี่คือเหตุผลที่เราต้องหันมาสนใจกับการสร้าง “นวัตกรรม”

โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน นวัตกรรม คือ การนำเอาสิ่งใหม่ๆ หรือ การปรับปรุงวิธีการ/กระบวนการใหม่ๆ แล้วนำมาใช้ประโยชน์ในการพัฒนา ซึ่งจะทำให้การพัฒนามีความแตกต่างจากการที่เคยดำเนินการอยู่ โรงเรียน คือ สถานที่เรียนรู้ ให้ความรู้ และสอนความรู้ โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน คือ อะไร? ชุมชนที่มีการนำสิ่งที่มีอยู่ มาปรับปรุงให้ให้เกิดประโยชน์ ต่อการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค โดยมีการใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ เป็นเครื่องมือในการพัฒนา จนเกิดผลสำเร็จ และสามารถถ่ายทอดความรู้ ประสบการณ์การพัฒนาให้ชุมชนอื่นๆ ได้เรียนรู้และนำไปขยายผลต่อได้

ใครเป็นผู้สร้างโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน ต้องร่วมมือกันหลายกลุ่ม/องค์กร โดย... ชุมชน เป็นฐานสำคัญและเป็นผู้สร้างโครงการและมาตรการทางสังคม อปท. บริหารจัดการและสนับสนุนทรัพยากรในการดำเนินงาน รวมทั้งสร้างมาตรการท้องถิ่น หน่วยงานสาธารณสุข สนับสนุนการสร้างความร่วมมือ และมาตรการทางวิชาการ ภาคีเครือข่ายต่างๆ ในชุมชน ร่วมสนับสนุนและดำเนินงาน

โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน จะต้องมีการพัฒนาอะไรบ้าง? มีการสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์(SRM) เป็นเครื่องมือ มีการสร้างงาน/โครงการ ชุมชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพจนเกิดผลงาน หรือ ผลสำเร็จที่ชัดเจน มีการสร้างหลักสูตรการเรียนรู้ และแผนการถ่ายทอดความรู้ สามารถถ่ายทอดความรู้ให้ชุมชนอื่นๆ เพื่อขยายผลต่อไปได้

ในพื้นที่โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน ขั้นตอนการใช้ SRM ในพื้นที่โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน มีการบริหารและสนับสนุนวิชาการทุกขั้นตอน วิเคราะห์บริบทชุมชน กำหนดทิศทางการพัฒนา กำหนดประเด็นและนิยามตาราง 11 ช่อง เปิดงาน ติดตามผล/ประเมิน เปิดโรงเรียนนวัตกรรมฯ

แผนปฏิบัติการ(Road Map)ของวิทยากรเขตระยะที่ 1 (ภายในกรกฎาคม 2553) วันที่... ตั้ง รนสช. งาน KPI ผู้ถ่ายทอดแสดงบทบาทได้ วันที่... เตรียมผู้ถ่ายทอด การเตรียมชุมชน 2.เตรียมเรื่อง 1.เลือกสื่อ กิจกรรม วิทยากรแสดงบทบาทได้ KPI วันที่... 1>2>3 3.มอบภารกิจ การเตรียมวิทยากรจังหวัด 2.บทบาท/ประเมิน 1.คัดเลือก กำหนดความต่อเนื่องของโครงการได้ KPI วันที่... 3.ประเด็นตั้งต้น ทำความตกลงกับท้องถิ่น 2.สถานที่/สนับสนุน 1.ทำความเข้าใจ ?

แผนปฏิบัติการ(Road Map)ของวิทยากรเขตระยะที่ 2 (ภายในกันยายน 2553) งาน วันที่... เปิด รนสช. 3.เลือกเนื้อหา/กิจกรรมการเรียน/สอน/สร้างสื่อ วันที่... กิจกรรมการเรียน/สอนผ่าน KPI การเตรียมการสอน 2. สร้างแผนการสอน 1.รับสมัคร/ จัดกลุ่มผู้เรียน กิจกรรม วันที่... ผ่านเกณฑ์ทดสอบ KPI 3. ทดสอบหลักสูตร 2.สร้างหลักสูตรตามความต้องการของผู้เรียน การสร้างหลักสูตร 1. สำรวจความต้องการของผู้เรียน พิสูจน์จุดเด่นตามเงื่อนไขได้ วันที่... KPI 3. กำหนดจุดเด่น(Input,process หรือ Output) การพัฒนาโครงการนวัตกรรมสุขภาพ 2.ทำบัญชี /คัดเลือกโครงการนวัตกรรมฯ 1. สร้างโครงการนวัตกรรมฯให้สมบูรณ์

บทบาทและความร่วมมือระหว่างหน่วยงานระดับต่างๆ ระยะที่ 1 เตรียมพัฒนาโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน กรม เขต/ภาค วิทยากรกลางเขต/จังหวัด จังหวัด อำเภอ อปท. รพสต. ชุมชน (ผู้นำ/อสม/ฯลฯ) เตรียมนโยบาย เตรียมพัฒนาทักษะของบุคลากร สร้างแผนที่ SLM ร่วมระหว่างกรม เตรียมข้อมูลวิชาการ พัฒนาทักษะ SRM กำหนดประเด็น สร้างตาราง 11 ช่องร่วมระหว่างกรม ร่วมสร้างทีมวิทยากรเขต เตรียมแผนขับเคลื่อนงาน สร้าง รร. นวัตกรรม ขยายงาน SRMพื้นที่ กำหนดคุณภาพ รร./งาน/วิทยากร ตั้งคณะ ทำงานระดับจังหวัด เตรียม แผนขยายงาน เตรียมแผนสนับสนุนงานพื้นที่ ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทำงานระดับอำเภอ เตรียมโครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ประสาน งานพื้นที่เป้าหมาย กำหนดนโยบาย อปท. เตรียมแผนสนับสนุนร่วมกับรพ.สต./ชุมชน ปรับแผนงานสุขภาพให้สอดคล้อง เตรียมแผนงาน/ข้อมูล วิเคราะห์สถานการณ์ PP ร่วม งานกับกลุ่ม/องค์กรในพื้นที่ เตรียมแผนรักษาคุณภาพงานวิชาการ สร้างโครงการคัดกรอง/เฝ้าระวัง กำหนดมาตรการสังคม ริเริ่มสร้างนวัตกรรม สร้างแผนชุมชนใหม่  

บทบาทและความร่วมมือระหว่างหน่วยงานระดับต่างๆ ระยะที่ 2 ปฏิบัติการ(เปิด)โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน กรม เขต/ภาค วิทยากรกลางเขต/จังหวัด จังหวัด อำเภอ อปท. รพสต. ชุมชน (ผู้นำ/อสม/ฯลฯ) ขับเคลื่อนงานตามนโยบาย   สนับสนุนมาตรการทางวิชาการที่เกี่ยวข้อง บริหารจัดการ SRM ในพื้นที่เขต M,E&I *ความก้าว หน้าอย่างต่อเนื่อง พัฒนา รร. นวัตกรรมในพื้นที่เป้าหมาย 1 แห่ง /อำเภอ รักษาคุณภาพ รร.นวัตกรรมฯ สนับสนุนการฝึกทักษะ SRM ของจังหวัด/อำเภอ ขยายงาน SRM สร้างทักษะบริหารจัดการ SRM ให้บุคลากร ทำM,E&I จัดการนวัตกรรม สนับสนุนมาตรการทางวิชาการ สนับสนุนทรัพยากร ร่วมดำเนินงานในพื้นที่เป้าหมาย  M,E&I พื้นที่เป้าหมาย จัดการโครงการฝึกงาน ระหว่างพื้นที่ผ่าน รร.นวัตกรรมฯ ขับเคลื่อนงานให้เชื่อมกับกองทุนสุขภาพฯ สนับสนุนมาตรการสังคม ร่วมดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมฯ สนับสนุนนวัตกรรม ของชุมชน สนับสนุนมาตรการวิชาการ  สร้างสมรรถนะทางวิชาการ สนับสนุนโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม  สนับสนุนวิชาการแก่โรงเรียนนวัตกรรมฯ สร้างโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สร้างและดำเนินมาตรการสังคม สร้างหลักสูตรและสอนในโรงเรียนนวัตกรรมฯ

การวางแผนการดำเนินงานในระดับอำเภอ/ตำบล ส่วนที่ 4 การวางแผนการดำเนินงานในระดับอำเภอ/ตำบล

กลุ่มเป้าหมายปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์/พฤติกรรม แผนปฏิบัติการพื้นฐาน(Micro-SLM) สร้างจากยุทธศาสตร์การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมระดับประชาชน (สนับสนุนด้วยการพัฒนากระบวนการและพื้นฐานที่วางไว้ใน SLM) กลุ่มเป้าหมายปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์/พฤติกรรม ดำเนินมาตรการทางสังคม สร้างโครงการชุมชน ใช้ข้อมูล /สื่อสาร/ ความรู้(กิจกรรมเสริม) ดำเนินงานคัดกรอง/ เฝ้าระวัง ประชาชน กิจกรรมเพิ่มทักษะ ภาคี ประชุมตกลงร่วมงานระหว่างสาขา

ประชาชนปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์/พฤติกรรม (ทุกประเด็นพร้อมมาตรการ) 7 เป้าประสงค์พื้นฐานของแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ(SLM) ตาม Road Map ประชาชนปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์/พฤติกรรม (ทุกประเด็นพร้อมมาตรการ) ชุมชน มีมาตรการทางสังคม (จัดการขยะชุมชน) ชุมชนมีโครงการของชุมชนโดยชุมชน (อาหารปลอดภัย) ระบบสื่อสารสารสนเทศมีประสิทธิภาพ (วัยรุ่น วัยเรียน) ประชาชน ชุมชน มีระบบเฝ้าระวังที่มีประสิทธิภาพ (เบาหวาน) อปท.ร่วมตัดสินใจ ขับเคลื่อนและสนับสนุนทรัพยากรอย่างเพียงพอและต่อเนื่อง (ไข้เลือดออก) ภาคี บุคลากร แกนนำมีสมรรถนะที่เหมาะสม (ผู้สูงอายุ) กระบวนการ พื้นฐาน