พระพุทธศาสนา ฝึกคนไม่ให้ประมาท.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรื่อง การบริหารจิตเพื่อสุขภาพ
Advertisements

ส่งการบ้านในระบบ E-laering
พุทธธรรม นำบุคลิกภาพ อ.วิยะดา วรธนานันท์ สำนักการศึกษาต่อเนื่อง
การดำเนินชีวิตอย่างมีอุดมคติ
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
2 ข้อนี้จัดเข้าในปัญญา
ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร.สมหวัง พิธิยานุวัฒน์
บุญ ๑๐ วิธี ๑ . ให้ทาน แบ่งปันผู้อื่นด้วยสิ่งของไม่ว่าจะให้ใครก็เป็นบุญสิ่งของที่เราแบ่งปันจะเป็นประโยชน์กับบุคคลหรือชุมชนโดยส่วนรวม.
สังคหวัตถุ 4 สังคหวัตถุ หมายถึง ข้อปฏิบัติที่เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจของบุคคลหรือหลักธรรมที่เป็นเครื่องประสานสร้างสรรค์สามัคคีให้เกิดในหมู่สมาชิกชาวพุทธ.
โฆษณาปฏิบัติธรรมทั่วประเทศ โดย เสถียรธรรมสถาน
บุญ.
พระวาจาทรง ชีวิต กันยายน 2013.
เศรษฐกิจพอเพียง.
เรื่องไตรสิขาพัฒนาสุขภาพจิต
ลักษณะของพุทธศาสนานิกายเถรวาท
สิ่งฟุ่มเฟือย การบริโภค สิ่งจำเป็น.
บทที่ 6 ค่านิยมในสังคมไทย
พลเมืองดีตามประเพณี และวัฒนธรรมไทย
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง
กรมส่งกำลังบำรุงทหาร
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดสิงห์บุรี
จรรยาบรรณวิชาชีพ.
บทบาทของนักวิชาการกับความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
สันโดษ... เคล็ดลับของความสุข
เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม
เศรษฐกิจพอเพียง ด.ญ.กิตติมา สุภโรจนีย์ ป.4/6
ด.ช.ณัฐนันท์ขาววิเศษ เลขที่1ป4/6
สังคหวัตถุ 4 บรรยายโดย อ.พงศ์สฎา เฉลิมกลิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม.
๒.๒.๒ ลักษณะและคำสอนสำคัญ ๑) ลักษณะสำคัญของพระพุทธศาสนา ปัญญา
มาตรฐานชีวิตชาวพุทธ วางรากฐานชีวิต ทำชีวิตให้ถึงจุดหมาย.
“การสร้างองค์กรต้นแบบ เศรษฐกิจพอเพียง โดยการส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินการของหน่วยงานภาครัฐ” จัดโดย สำนักงาน ปปช. สรุปและนำเสนอโดย ภญ.ธีรารัตน์ สุวรรณาลัย.
เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวทางการดำรงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดำเนินไปในทางสายกลางโดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัฒน์
เคล็ดลับในการฝึกงาน ให้ประสบความสำเร็จ!!!
K M กจ. ประจำเดือนมีนาคม 2551
ชีวิตที่พอเพียงสู่ความสุขที่ยั่งยืน
Ombudsman Talk.
ดร.สมโภชน์ นพคุณ รองเลขาธิการ ก.พ. สำนักงาน ก.พ.
วิชาธรรมศึกษา จัดทำโดย พระ บุญมี อนามโย วัดคลองมะนาว.
เกร็ดความรู้ที่เยาวชนไทยควรทราบ
เกร็ดความรู้ที่เยาวชนไทยควรทราบ
Download ใน หรือ
เรื่อง การบริหารจิตเพื่อสุขภาพ จัดทำโดย นาย ภัทรพงศ์ สินเติม
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
สถาบันศาสนา หมายถึง แบบแผนของความคิดการกระทำในเรื่องเกี่ยวกับ จิตใจ ความเชื่อทางสังคม ทางศาสนา และเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรม ประกอบด้วย 3 ประการ คือ.
เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง หลวงในรักเรา เรารักในหลวง
การพัฒนาการเรียนรู้ด้วยวิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการ
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
มรรค : ธรรมที่ควรเจริญ
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สาระที่ ๑ : ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
งาน กำหนดกรอบ บรรยาย เคลื่อนไ หว อาชี พ ชีวิต เป็ น อยู่ ปรากฏความ เปลี่ยนแปลง เป็น ครู ข้าราชการครู พนักงา นรัฐ สอ น แนะ นำ เสนอ แนวคิด กำกับงานของ Stu-
บทที่ 2 พุทธธรรมกับสังคม.
คุณธรรมนักปกครอง กับค่านิยมหลักของคนไทย นายประดิษฐ์ ยมานันท์
จุดเน้นวิชาประวัติศาสตร์
“การเสริมสร้างชีวิตให้เป็นสุข”
เรื่อง ประวัติและความสำคัญ ผู้สอน ครูศศิเพ็ญ วิมุกตานนท์
จุดมุ่งหมายของพระพุทธศาสนา
บทที่ 2 ทฤษฏีจริยธรรม.
อริยสัจ 4.
โรงเรียนสายธรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
เศรษฐกิจพอเพียง โดย ด.ช.พีรดนย์ ศรีสอน.
โดย นางสาวพอใจ สาธุการ
จัดทำโดย ด.ช. ดิเรกรัตน์ ด่านลัมจาก เลขที่3
จะสำเร็จได้ด้วย ความพอดีของตน
พระครูพิศิษฏ์คณาทร วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร
พุทธปรัชญา ความเป็นมา พุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติ
“ชีวิตมีคุณค่า พึ่งพาเศรษฐกิจพอเพียง”
มงคล 38 ประการ พระพุทธเจ้าต้องการสอนให้ประชาชนรู้ ว่าปฏิบัติตนอย่างไรจึงจะเป็นมงคลแก่ตัวเอง แบ่งเป็น - สำหรับเยาวชน 10 ประการ - สำหรับคนวัยทำงาน 18.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

พระพุทธศาสนา ฝึกคนไม่ให้ประมาท

พระพุทธศาสนาในด้านการฝึกตนไม่ให้ประมาท ความประมาท คือ ความเลินเล่อ เผลอสติ ไม่สำรวมระวัง กาย วาจา ใจ ส่วนความไม่ประมาทมีวินัยตรงกันข้าม ได้แก่ ความรอบคอบ มีสติคอยกำกับการกระทำ วาจา ใจ สติ  คือ ความระลึกรู้สึกตัวอยู่เสมอจำเป็นต้องใช้ในกิจกรรมทุกอย่าง ตั้งแต่การทำการงานตามปกติ

พระพุทธศาสนา มุ่งประโยชน์สุข แก่บุคคล สังคม และโลก

ประโยชน์ของความไม่ประมาทต่อการดำเนินชีวิตและสังคม 1 ประโยชน์ของความไม่ประมาทต่อการดำเนินชีวิตและสังคม              1. ประโยชน์ในการดำเนินชีวิตส่วนบุคคล               ความไม่ประมาทมีประโยชน์ในการปฏิบัติหน้าที่และการดำเนินชีวิต เช่น ในการปฏิบัติหน้าที่หรือการดำเนินชีวิตที่มีความเสี่ยง ต่ออุบัติภัยมาก  ในการทำงานที่ละเอียดประณีต ในการครองเรือน ในการป้องกันโรค              2. ประโยชน์ต่อสังคม  การป้องกันประเทศ การป้องกันอาชญากรรม การวางแผนเศรษฐกิจและสังคม ความสัมพันธ์ระหว่าง ประเทศ              3. ประโยชน์ในการปฏิบัติทางพระพุทธศาสนา การปฏิบัติทางพระพุทธศาสนาจะต้องมีความไม่ประมาท กล่าวคือมีสติกำกับอยู่ เสมอ การรักษาศีล การเจริญสมาธิหรือการทำกรรมฐาน การเจริญปัญญา

ธรรมะที่สร้างความไม่ประมาท                        ธรรมะที่เป็นเครี่องมือสร้างความไม่ประมาท ได้แก่                        1. สติ ความระลึกได้ก่อนที่จะทำ จะพูด จะคิด ในสิ่งต่างๆ และ สัมปชัญญะ ความรู้ตัว ในขณะที่ทำ พูด คิดอยู่ โดยไม่เผลอใจ หรือขาดสติ                        2. ปธาน คือความเพียร อันเป็นเครื่องมือสำคัญที่ทำให้เกิดความไม่ประมาทในชีวิต ได้แก่                                              1) สังวรปธาน ความเพียรในการระวังมิให้ความชั่วเกิดกับตน หรือป้องกันมิให้ตนเองกระทำในสิ่งที่ไม่ดี                                              2) ปหานปธาน ความเพียรในการละทิ้งความไม่ดีที่เคยเกิดขึ้นกับตนให้หมดไป                                              3) ภาวนาปธาน ความเพียรในการสร้างสรรค์ความดีที่ยังไม่เกิดให้เกิดขึ้นกับตน หรือเพียรในการสิ่งดีๆ ที่ยังไม่ได้สร้าง                                              4) อนุรักขนาปธาน เพียรในการรักษาความดี ที่เราได้ทำไว้แล้วมิให้หายไป คือรักษาสิ่งดีๆ ที่ทำไว้แล้วให้คงอยู่เหมือนเดิม                        3. หิริ โอตตัปปะ หิริ คือความละอายใจในการจะทำความชั่ว และโอตตัปปะ ความเกรงกลัวต่อผลของความชั่ว เมื่อบุคคลมีความละอาย และเกรงกลัวต่อบาป แล้ว ก็จะทำให้ผู้นั้นดำเนินชีวิตด้วยความระมัดระวัง ไม่ประมาทเผลอตัวทำความชั่วได้

พระพุทธศาสนามีหลักธรรมคำสอนมากมาย ที่มุ่งประโยชน์สุขแก่บุคคล สังคมและโลก ดังตัวอย่างหลักธรรมคำสอนดังนี้ 1. ทิฎฐธัมมิกัตถะ คือ ประโยชน์ในปัจจุบัน 2. สัมปรายิกัตถะ คือ ประโยชน์ในภายหน้า 3. ปรมัตถะ ประโยชน์อย่างยิ่ง คือ นิพพาน

หลักคำสอนของพระพุทธศาสนาที่มุ่งความสุขแก่สังคมและโลก ได้แก่ อิทธิบาท 4 คือหลักธรรมที่เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวน้ำใจของผู้อื่น 1. ทาน คือ การให้ การเสียสละ 2. ปิยวาจา คือ การพูดจาด้วยถ้อยคำที่ไพเราะอ่อนหวาน 3. อัตถจริยา คือ การประพฤติในสิ่งที่เป็นประโยชน์แก่ผู้อื่น 4. สมานัตตา คือ การเป็นผู้มีความสม่ำเสมอ,เสมอต้นเสมอปลาย พรหมวิหาร 4 คือหลักธรรม ประจำใจอันประเสริญของบุคคลผู้มีคุณความดีอันยิ่งใหญ่ 1. เมตตา แปลว่า ความรัก 2.กรุณา แปลว่า ความสงสาร 3.มุทิตา แปลว่า มีจิตอ่อนโยน 4.อุเบกขา แปลว่าความวางเฉย คือมีการวางเฉยต่ออารมณ์ที่มากระทบ

พระพุทธศาสนา กับเศรษฐกิจพอเพียง

พระพุทธศาสนากับเศรษฐกิจพอเพียง วัตถุประสงค์หรือเป้าหมายหลักของเศรษฐกิจพอเพียงก็คือ  ความสงบสุขของผู้คนในสังคม ประชาชนมีกินมีใช้อย่างเพียงพอแก่ความต้องการ ที่สำคัญต้องไม่ทำตนและผู้อื่นเดือนร้อน ซึ่งสอดคล้องกับหลักธรรมคำสอนทางพระพุทธศาสนาหลายประการ ดังนี้                          1. หลักธรรมการพึ่งพาตนเอง ( อตฺตา หิ อตฺต โน นาโถ)                          2. หลักธรรมความรู้จักพอประมาณ (อตฺตญฺญุตา)                           3. หลักธรรมเรื่องราวความสันโดษ ( สนฺตุฏฺฐิ ปรมํ ธนํ)                          4. หลักธรรมความเป็นผู้รู้จักใช้เหตุผลในการดำเนินชีวิต (ธมฺมญฺญุตา อตฺถญฺญุตา)                           5. หลักธรรมเรื่องทางสายกลาง หรือ ความพอดี (มชฺฌิมปฏิปทา)                          6. หลักธรรมเรื่องความไม่โลภมาก (อโลภ)