การบริหารจัดการท้องถิ่น

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

องค์ประกอบของสำนักงานสมัยใหม่
การเมืองและการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ความหมายของประชาธิปไตย
อำนาจอธิปไตย อธิปไตยเป็นอำนาจสูงสุดในการปกครองประเทศประกอบด้วย อำนาจนิติบัญญัติ อำนาจบริหาร และอำนาจตุลาการ ใช้ในการบริหารการปกครองประเทศตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นพระประมุข.
บูรณาการสู่ความสำเร็จ
การปกครองท้องถิ่นไทยในปัจจุบัน
รัฐธรรมนูญใหม่ (พ.ศ. 2550) กับการปกครองท้องถิ่นไทย โดย
หลักการสำคัญ ในการปรับปรุงกฎหมาย ว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
สาระสำคัญของ ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ....
Research Mapping.
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
องค์กรภาครัฐในส่วนกลางในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
Local Autonomy ความเป็นอิสระของท้องถิ่น Autonomy Auto-Nomas.
1. การพัฒนาประชาธิปไตย : สถาบัน
1. การพัฒนาประชาธิปไตย : สถาบัน
1. Legal Status 2. Area and Level องค์ประกอบการปกครองท้องถิ่น
ที่ว่าการอำเภอปะนาเระ
1. Legal Status 2. Area and Level องค์ประกอบการปกครองท้องถิ่น
วิชาชีพสาธารณสุขของท้องถิ่นก้าวหน้า หรือล้าหลัง
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
ผู้อำนวยการส่วนพัฒนาและส่งเสริมการบริหารงานท้องที่
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับแผนชุมชน
การบริหารจัดการชุมชนเข้มแข็งกับการเมืองท้องถิ่น
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
แผนปฏิบัติการยะลาเข้มแข็ง ผู้ว่าราชการจังหวัดยะลา
องค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.)
6.การตั้งงบประมาณรายจ่าย หมวดเงินอุดหนุน ให้หน่วยงานอื่น
ยินดีต้อนรับผู้เข้าสัมมนาทุกท่าน
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2550 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2550 มาตรา 66 บุคคลซึ่งรวมกันเป็นชุมชน ชุมชนท้องถิ่น หรือชุมชนท้องถิ่นดั้งเดิม.
รายละเอียดลักษณะตัวชี้วัดความสำเร็จกิจกรรมและผลการดำเนินงานควบคุมรายโรค โรคที่สำคัญตามนโยบายกระทรวงสาธารณสุข.
การกระจายอำนาจสู่ อปท.
กฎหมายที่เกี่ยวข้อง ความรู้พื้นฐาน กับกฎหมายสาธารณสุข กานต์ เจิมพวงผล
ทิศทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2554
(บรรยายหลักสูตรนักบริหารระดับกลาง กระทรวงมหาดไทย)
การปฏิบัติงานร่วมกับ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
๑. อำนาจหน้าที่ของ อปท. ๒. หน่วยงานต่าง ๆ ได้ขอรับการสนับสนุน จาก อปท
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
การบริหารงานจังหวัดลพบุรีแบบ บูรณาการ กพร.- TRIS 18/05/2549.
บทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในการสร้างแรงจูงใจและมีส่วนร่วม
นโยบายสาธารณะกับการปฏิรูปการเมือง การปกครอง และการบริหาร
งาน 1 : สรุป และนำเสนอ. 1. สถานการณ์ ที่มาและความสำคัญ. 2
งาน 1 : สรุป และนำเสนอ. 1. สถานการณ์ ที่มาและความสำคัญ. 2
คณะอนุกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน ระดับจังหวัด/อำเภอ
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
สาระสังคม ศาสนาและวัฒนธรรม
ทิศทางร่างพระราชบัญญัติ ระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น
องค์กรบริหารบุคลากรท้องถิ่น
จะเริ่มอย่างไร ? จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบสุขภาพระดับอำเภอ อยู่ที่การกำหนดค่ากลางของความสำเร็จของโครงการสุขภาพระดับเขต เพื่อส่งมอบให้จังหวัดนำเข้าสู่กระบวนการ(1)
โดย นายคันฉัตร ตันเสถียร รองผู้ว่าราชการจังหวัดอุบลราชธานี
3.การจัดทำงบประมาณ.
หัวข้อการบรรยาย รูปแบบและโครงสร้างของ อปท.
ผบ. ปภ. ชาติ ( รมว. มท.) หรือ ผอ. กลาง ( อ. ปภ.) ผอ. จังหวัด ( ผว. จว.) แผน ปภ. จว./ แผนปฏิบัติการป้องกัน และแก้ไขปัญหา ภัยแล้ง ก่อนเกิดเหตุ ขณะเกิดเหตุ
เทศบาลตำบลบัลลังก์ จดหมายข่าว ระเบียบกองทุนหลักประกันสุขภาพ
การบริหารราชการแผ่นดิน
การจัดตั้งสภาวัฒนธรรมตำบล
แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2550 – 2552) องค์การบริหารส่วนตำบลทางเกวียน
คำแนะนำสำหรับกระทรวง สาธารณสุข  จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบ สุขภาพระดับอำเภอ อยู่ที่การ กำหนดค่ากลางของ ความสำเร็จของโครงการ สุขภาพระดับเขต เพื่อส่ง มอบให้จังหวัดนำเข้าสู่
การปฏิรูปการเลือกตั้งผู้แทนราษฎร
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
แผนพัฒนาบุคลากรขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
วิสัยทัศน์การพัฒนาตำบล
อาจารย์สันติ อภัยราช อาจารย์ ๓ ระดับ ๙ นิติศาสตรบัณฑิต การศึกษาบัณฑิต
ยุทธศาสตร์พัฒนาชุมชนน่าอยู่ เมืองน่าอยู่ ผลงาน ปี 2551 แผนงาน ปี 2552 ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก 2 กันยายน 2551.
ประกอบด้วย จังหวัด 1. ลำพูน 2. อุบลราชธานี 3. สุพรรณบุรี 4. สุรินทร์
โครงการอบรมสร้างเสริมประสบการณ์บุคลากร รพ. สต
มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ สำนักมาตรการป้องกันสาธารณภัย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การบริหารจัดการท้องถิ่น ปัจจุบัน การเมือง การปกครองท้องถิ่นของหลายๆประเทศ มีการดำเนินงานที่ซับซ้อนมากขึ้น มีผู้เข้าร่วมมากขึ้น ประชาชนในท้องถิ่นมีส่วนร่วมมากขึ้นในการตัดสินใจเกี่ยวกับนโยบายท้องถิ่นเช่น ยาเสพติดในชุมชน ขยะ น้ำท่วม อาคารสูง น้ำเสียจากโรงงาน การบริหารจัดการท้องถิ่นจึงนัยที่หมายถึง กระบวนการดำเนินการร่วมกันโดยหลายภาคส่วนเพื่อบรรลุกิจการสาธารณะในเงื่อนไขที่ไม่อาจใช้อำนาจรัฐเพียงอย่างเดียวในการบรรลุภารกิจได้

ปัจจัยภายนอก ระบบโลกาภิวัตน์ ระบบเศรษฐกิจแบบเสรี การเปลี่ยนแปลงจากการปกครองท้องถิ่น เป็นการบริหารจัดการท้องถิ่นไม่ใช่การปรับตัวแต่ เป็นการเปลี่ยนระบบ โดยปัจจัยภายนอกและปัจจัยท้องถิ่น ปัจจัยภายนอก ระบบโลกาภิวัตน์ ระบบเศรษฐกิจแบบเสรี ภาคธุรกิจ ภาคประชาชนต้องการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจเกี่ยวกับกิจการสาธารณธะมากขึ้น สถานการณ์ที่เปลี่ยนไปเช่น สภาพแวดล้อมเสื่อมโทรม แรงงานอพยพ ความต้องการประสิทธิภาพ การกระจายอำนาจและก้าวพ้นไปจากระบบราชการ

ปัจจัยท้องถิ่น ท้องถิ่นแต่ละแห่งมีองค์ประกอบต่างกันเช่น อังกฤษมีปัญหาการเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจสากล ญี่ปุ่นมีปัญหาประชากร พื้นที่จำกัด วัตถุดิบ ฯลฯ ปัจจัยภายใน ปัจจัยภายนอก มีผลให้ท้องถิ่นจำเป็นต้องมีระบบบริหารจัดการแบบใหม่

รูปแบบการปกครองส่วนท้องถิ่น การประชุมเมือง Town Meeting สภา – นายกเทศมนตรี นายกเทศมนตรี แบบอ่อน นายกเทศมนตรี แบบมีอำนาจมาก แบบผู้จัดการ แบบคณะกรรมการ

การประชุมเมือง Town Meeting เก่าแก่ที่สุด โดยตรง มีตัวแทน ตั้งคณะกรรมการ สภา – นายกเทศมนตรี ยึดหลักการระบบรัฐสภา นายกเทศมนตรี แบบอ่อน ถ่วงดุลอำนาจ ประชาชนมีสิทธิและส่วนร่วมมาก โดยเลือกตั้งผู้บริหารงานท้องถิ่น ตำแหน่งต่างๆ

นายกเทศมนตรี แบบมีอำนาจมาก ( เลือกตั้งนายกเทศมนตรีโดยตรง และนายกเทศมนตรีแต่งตั้งหัวหน้าฝ่ายบริหาร Chief Administrative Officer (CAO) แบบผู้จัดการ เน้นการบริหารงานแบบภาคธุรกิจ สภาจ้างและถอดถอนผู้จัดการเมือง แบบคณะกรรมการ มาจากการเลือกตั้งทำหน้าที่ทั้งออกกฎหมายและบริหารงาน

ภารกิจรัฐ ภารกิจท้องถิ่น การบริหารราชการแผ่นดิน การบริหารราชการส่วนกลาง สำนักนายก กระทรวง กรม บริหารราชการส่วนภูมิภาค บริหารราชการส่วนท้องถิ่น จังหวัด ส่วนราชการประจำจังหวัด อบจ. กทม. เทศบาล เมือง พัทยา อำเภอ ส่วนราชการประจำอำเภอ อบต. ภารกิจรัฐ ภารกิจท้องถิ่น

ความสัมพันธ์ระหว่างภารกิจ ภารกิจรัฐ ภารกิจท้องถิ่น รักษาความสงบเรียบร้อย ป้องกันประเทศ การต่างประเทศ การอำนวยความยุติธรรม การอุตสาหกรรม การไฟฟ้า การประปา การขนส่ง การศึกษา การสาธารณสุข ศิลปวัฒนธรรม กำจัดขยะมูลฝอย รักษาความสะอาด ให้มีน้ำสะอาดหรือการประกา การตลาด โรงฆ่าสัตว์ ให้มีและบำรุงทางบก ทางน้ำ ดูแลรักษาที่สาธารณะ

การปกครองส่วนท้องถิ่นและการกระจายอำนาจ  การกระจายอำนาจให้แก่ ท้องถิ่น ตัดสินใจตามอำนาจหน้าที่  หน่วยองค์กรท้องถิ่นมีฐานะเป็น นิติบุคคล  มีงบประมาณของตนเอง  มีสภาและผู้บริหารท้องถิ่น  มีบุคลากรท้องถิ่น  ข้อบัญญัติท้องถิ่น แบ่งเบาภารกิจของรัฐบาล ปัญหาท้องถิ่นได้รับการแก้ไข ส่งเสริมท้องถิ่นพัฒนาบทบาทของตนเอง พื้นฐานการพัฒนาสู่ระดับชาติ สร้างความเข้มแข็งให้ชุมชน

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สภา ท้องถิ่น ผู้บริหารท้องถิ่น ส. อบจ. ส. อบต. ส. เทศบาล นายก อบจ. นายก อบต. นายกเทศมนตรี มาจากการเลือกตั้งของประชาชนโดยตรง มาจากการเลือกตั้ง พนักงานและข้าราชการส่วนท้องถิ่น